Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53331
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.authorเจ๊ะอัสลัน เจ๊ะโมง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.date.accessioned2017-09-19T11:47:13Z-
dc.date.available2017-09-19T11:47:13Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53331-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractแหล่งโมกกตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตมัณฑะเลย์ ตอนกลางของประเทศพม่า ซึ่งเป็นพื้นที่ศึกษาของ งานวิจัยนี้ เป็นพื้นที่ที่มีการกระจายตัวของหินแปร และหินอัคนีหลายชนิด โดยงานวิจัยนี้สนใจศึกษาเพียงหินอัคนีจาพวกอัตร้าเมฟิกคือ หินดันไนต์ที่มีการกระจายตัวอยู่บริเวณ Bernardmyo ทางตอนเหนือของแหล่งโมกก โดยจากการศึกษาศิลาวรรณนา สามารถแบ่งหินออกเป็น 2 กลุ่มคือ หินดันไนต์ และหินดันไนต์ที่พบการ แปรสภาพเซอร์เพนทิไนซ์ (serpentinized dunite) โดยลักษณะภายใต้กล้องจุลทรรศน์ของทัง้ สองกลุ่มมี ขนาดของผลึกแร่ตัง้ แต่ 1 มิลลิเมตร ถึง 3 มิลลิเมตร มีแร่ประกอบหลักคือ แร่โอลีวีน ไพร็อกซีน และแร่ทึบ แสง และมีลักษณะเนื้อหินที่สาคัญได้แก่ ลักษณะเนื้อมวลผลึก โดยแร่มีขนาดใกล้เคียงกัน พบผลึกตั้งแต่ผลึกกึ่ง สมบูรณ์จนถึงผลึกไม่สมบูรณ์ ซึ่งผลของการศึกษาธรณีเคมีของหินทั้งก้อนประกอบด้วยธาตุหลักและธาตุรอง ดังนี้ 38.71 - 49.63% SiO₂, 0.37 - 0.67% Al₂O₃, 6.17 - 9.01% Fe₂O₃, 0.00 - 0.56% Cr₂O₃, 0.03 - 0.04% MnO, 0.19 – 0.58% NiO, 36.08 - 45.10% MgO, 0.00 - 0.61% CaO, 0.00 - 0.26% K₂O และ 0.00 – 0.70% SO3 โดยเมื่อพล็อตกราฟระหว่างธาตุประกอบออกไซด์แต่ละชนิดกับ Mg# (magnesium number) พบว่าลักษณะการกระจายตัวของข้อมูลมีการเกาะกลุ่มกัน ซึ่งแสดงถึงองค์ประกอบมีความ คล้ายคลึงกัน และจากการศึกษาเคมีแร่พบ ฟอร์สเทอร์ไรต์โอลีวีน ไพร็อกซีนจาพวกออร์โธไพร็อกซีน และแร่ โครไมต์ ซึ่งจากผลข้อมูลธรณีเคมีและเคมีแร่ของหินตัวอย่าง สามารถตีความถึงต้นกาเนิดได้ว่ามาจาก cumulative rocken_US
dc.description.abstractalternativeThe study area is located in Mogok Stone Tract, Central Myanmar in which is geologically occupied by complex igneous and metamorphic rocks. Rock specimens collected for this study can be divided, based on physical feature, into 2 groups including dunite and serpentinized dunite. Petrographic description indicates holocrystaline texture, equigranular texture, subhedral crystal - anhedral crystal with average grain size of 1-3 mm.. Rock-forming minerals are mainly composed of olivine, pyroxene and opaque mineral. Whole-rock geochemistry of dunite ranges between 38.71 - 49.63% SiO2, 0.37 - 0.67% Al₂O₃, 6.17 - 9.01% Fe₂O₃, 0.00 - 0.56% Cr₂O₃, 0.03 - 0.04% MnO, 0.19 – 0.58% NiO, 36.08 - 45.10% MgO, 0.00 - 0.61% CaO, 0.00 - 0.26% K₂O และ 0.00 – 0.70% SO₃. Based on mineral chemistry, olivines are characterized by forsterite (Mg-rich olivine); pyroxenes are orthopyroxene and opaque minerals are characterized by chromite. These indicate that dunite in Mogok was cumulate rocks which had formed during the differentiation process of a magmatic event.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินดูไนต์ -- พม่าen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- พม่าen_US
dc.subjectธรณีเคมี -- พม่าen_US
dc.subjectDunite -- Myanmaren_US
dc.subjectPetrology -- Myanmaren_US
dc.subjectGeochemistry -- Myanmaren_US
dc.titleศิลาวรรณนาและธรณีเคมีของหินดันไนต์ บริเวณแนวหินโมกก ประเทศพม่าen_US
dc.title.alternativePetrography and geochemistry of dunite along Mogok stone tract, Mandalay, Myanmaren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorc.sutthirat@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332704123 เจ๊ะอัสลัน เจ๊ะโมง.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.