Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเครือวัลย์ จันทร์แก้ว-
dc.contributor.authorชาญวิทย์ แตงอ่อน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพังงา-
dc.date.accessioned2017-09-20T03:43:05Z-
dc.date.available2017-09-20T03:43:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53334-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษาชนิดของแร่ดินในตะกอนสึนามิปี พ.ศ.2547 และตะกอนสึนามิในอดีต เพื่อระบุระดับ ความลึกของน้ำที่สึนามิเริ่มพาตะกอนเข้ามาสะสม เป็นพื้นฐานในการศึกษาจลน์ศาสตร์ของคลื่นสึนามิ และเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวิเคราะห์ความรุนแรงของสึนามิทีเคยเกิดขึ้น ในอดีตได้ โดยการศึกษาในครั้งนี้ ทำการวิเคราะห์ชนิดแร่ดินในตะกอนสึนามิปี พ.ศ.2547 และตะกอนสึนามิในอดีตซึ่งถูกสำรวจพบที่เกาะ พระทอง อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา เพื่อเทียบสัมพันธ์กับการกระจายตัวของแร่ดินที่พื้นทะเล บริเวณทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะพระทอง ทำการเก็บตัวอย่างตะกอนสึนามิปี พ.ศ.2547 ตะกอนสึนามิ ในอดีต รวม 4 ตัวอย่าง ตะกอนหน้าหาด 4 ตัวอย่าง ตะกอนคลื่นซัดล้นฝัง 1 ตัวอย่าง และตะกอนพื้นทะเล ทีระดับความลึก 6, 7, 7.5, 8, 12, 14.5, 15, 17, 18, 20 และ 23 เมตร รวม 12 ตัวอย่าง รวมทังF สินF 21 ตัวอย่าง โดยใช้การวิเคราะห์การกระจายตัวขนาดตะกอน จากการแยกขนาดตะกอนโดยใช้น้ำ (Wet sieving) วิเคราะห์เชิงคุณภาพและปริมาณของแร่ดินโดยเครื่องวิเคราะห์ X-ray diffractometer ด้วย เทคนิควิธี Random, Oriented, Glycolated และ Heated และวิเคราะห์ออกไซด์องค์ประกอบตะกอนโดย เครื่องวิเคราะห์ X-ray Fluorescence spectrometer รวมทั้ง การวิเคราะห์ Loss on ignition ทีอุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส จากการศึกษาพบว่า แร่ดินทีพบในตะกอนสึนามิทั้ง หมด 4 ชันF ได้แก่ แร่เคโอลิไนต์ และอิลไลต์ นอกจากนี้แร่ดินทีพบเฉพาะในตะกอนสึนามิปี พ.ศ.2547 ตะกอนสึนามิในอดีตชั้น ที 2 และ ตะกอนสึนามิในอดีตชันF ที 3 ได้แก่ แร่คลอไรต์ ส่วน แร่ดินทีพบในตะกอนสึนามิในอดีตชั้นที 1 และ ตะกอนสึนามิในอดีตชั้นที 2 ได้แก่ แร่มอนต์มอริลโลไนต์ โดยในเบื้องต้นสามารถระบุความลึกน้ำ ทีสึนามิ เริ่มพัดเอาตะกอนเข้ามาสะสมตัวเป็นชั้น ตะกอนสึนามิปี พ.ศ.2547 ทีระดับความลึกมากกว่า17 เมตร ตะกอนสึนามิในอดีตชั้นที 1 เริ่มถูกสึนามิพัดพามาจากความลึกน้ำ ประมาณ 14.5 เมตร และตะกอนสึนามิ ในอดีตชั้น ที 2 และตะกอนสึนามิในอดีตชั้นที 3 เริ่มถูกพัดพามาจากความลึกน้ำ มากกว่า 20 เมตร เนื่องจากขาดข้อมูลในบริเวณทีลึกกว่า 20 เมตรจึงไม่สามารถสรุประดับความลึกของน้ำ ทีสึนามิเริ่มพัดเอา ตะกอนเข้ามาได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe clay minerals in 2004 tsunami sediment and paleotsunami sediments at Phra Thong Island, Amphoe Kuraburi, Changwat Phang Nga may provide clues to the dynamics and severity of tsunami in this area. This study identified the depth of water which 26 December 2004 tsunami sediment and paleotsunami sediments was entrained from offshore by the tsunami wave. We studied a total of 21 samples including 2004 tsunami sediment, paleotsunami sediments, swash zone sediment, washover deposit and offshore sediments at depths of 6, 7, 7.5, 8, 12, 14.5, 15, 17, 18, 20 and 23 meters. The samples were investigated by particle size analysis, X-ray diffractometer (XRD; using Random, Orientated, Glycolated and Heated methods), X-ray Fluorescence spectrometer (XRF) and Loss on ignition (LOI). Kaolinite and Illite are found in all tsunami sand layers. Chrolite is found in 2004 tsunami 2nd and 3rd paleotsunami sand layers. Moreover, Montmorillonite is found in 1st and 2nd paleotsunami sand layers. Clay minerals distribution on the sea floor can be divided into 4 zones related to clay minerals in tsunami sediments. This study may preliminary conclude that 2004 tsunami sediment was entrained from more than 17 meters. of water depth. The 1st paleotsunami sediment was entrained from about 14.5 m. The 2nd and 3rd paleotsunami sediments started picking up from more than 20 meters. However, this study lacks data of offshore sediments at depths of more than 20 meters.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแร่ดิน -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectสึนามิ -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectClay minerals -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Analysisen_US
dc.subjectTsunamis -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.titleแร่ดินในตะกอนสึนามิ เกาะพระทอง อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงาen_US
dc.title.alternativeClay minerals in tsunami sediments at Phra Thong island Amphoe Kuraburi, Changwat Phang Ngaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorkjankaew@yahoo.co.uk-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332707023 ชาญวิทย์ แตงอ่อน.pdf6.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.