Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNatthanicha Anansatitporn-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.coverage.spatialThai-
dc.coverage.spatialSuphan Buri-
dc.coverage.spatialThai-
dc.coverage.spatialSuphan Buri-
dc.date.accessioned2017-09-20T04:33:10Z-
dc.date.available2017-09-20T04:33:10Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53337-
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2011en_US
dc.description.abstractThe study area covers the northern part of Suphan Buri basin with the surface area of approximately 55 km2. Suphan Buri basin is half graben with North-South trending normal faults. The basin appears to be pull-apart basin as it lies between two major Tertiary strike-slip faults zones, the Mae Ping fault and Three Pagoda fault zones. . The previous 2D seismic interpretation in 2004 shows the faults in this area might form structural closures. This study aims to interpret and create structural maps for Ban Phaikwang area by using 3D seismic cube which had been acquired in 2005, well checkshot, and well top markers of X, Y and Z horizons. Coherency attributes, combining with seismic interpretation, were utilized to validate the faults existence. The detailed interpretation from this study found half graben in northern part and full-graben from central to southern part. From structural maps and fault throw analysis show that there are 4 joined faults mostly in southern and central part of area in horizon X and Y and some joined faults can be structural closures. Moreover from reconstruction model demonstrate sedimentary deposition of horizon X, Y and Z did not deposit at the same time and there are fault reactivations in this study area because of sedimentary loaded. The result shows that the selected technique able to reduce the uncertainty of fault segment continuity and the closure identification.en_US
dc.description.abstractalternativeพื้นที่ศึกษาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแอ่งสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งพื้นที่ศึกษานั้นครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 55 ตารางกิโลเมตร ลักษณะของแอ่งสุพรรณบุรีวางตัวอยู่ในแนวเหนือใต้ เป็นแอ่งแบบกึ่งกราเบน เป็นรอยเลื่อนปกติ โดยแอ่งสุพรรณบุรีนี้ถูกจัดให้เป็นแอ่งแบบพูล อพาร์ท (pull-apart) ซึ่งวางตัวอยู่ระหว่างรอยเลื่อยเฉือนขนาดใหญ่สองรอยเลื่อนนั่นก็คือ รอยเลื่อนแม่ปิง และรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ จากการแปลข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนแบบสองมิติเมื่อปี ค.ศ.2004 แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บริเวณนี้มีรอยเลื่อนที่สามารถเป็นโครงสร้างกักเก็บได้ (structural closures) ดังนั้นโครงงานนี้จึงได้ทำการแปลข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนแบบสามมิติที่เก็บในปี ค.ศ.2005 พื้นที่ศึกษาบ้านไผ่ขวาง และสร้างแผนที่โครงสร้าง โดยยังใช้ข้อมูลจากหลุมเจาะเพื่อทำการเลือกชั้นหิน X, Y และ Z เพื่อใช้ในการแปล นอกจากนี้แล้วยังได้ทำการวิเคราะห์ลักษณะรอยเลื่อนเชิงคุณภาพหรือ Coherency attribute ร่วมกับการแปลเพื่อให้เกิดความแม่นยำเพิ่มขึ้นอีกด้วย จากการศึกษาพบว่า รอยเลื่อนในพื้นที่นี้ ทางตอนเหนือนั้นพบเป็นแบบกึ่งกราเบน แต่ต่อมาทางส่วนกลางค่อนมาทางใต้จะพบว่าเป็น กราเบนในที่สุด จากการทำแผนที่โครงสร้างและการทำการวิเคราะห์ระยะรอยเลื่อนในแนวตั้ง ผลได้แสดงให้เห็นว่ามีรอยเลื่อนที่มาบรรจบกัน (joined faults) อยู่ 4 บริเวณด้วยกันโดยส่วนใหญ่จะอยู่ทางตอนใต้จนถึงตอนกลางของชั้นหิน X และ Y และยังบ่งบอกว่า รอยเลื่อนเหล่านี้สามารถเป็นโครงสร้างกักเก็บปิโตรเลียมได้ นอกจากนั้นแล้วยังได้มีการสร้าง Reconstruction model ที่แสดงให้เห็นว่า ชั้นหิน X, Y และ Z ไม่ได้ตกสะสมในเวลาเดียวกัน เพราะมีการแสดงการเกิดการพัฒนาของรอยเลื่อนเข้าไปยังหินชั้นอื่นอันเนื่องมาจากการกดทับของชั้นหินตะกอนที่ตกสะสมตัวทับอยู่ด้านบนของแอ่ง ผลการศึกษาเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการช่วยลด ความไม่ต่อเนื่องของกลุ่มรอยเลื่อน และเพิ่มความสามารถในการระบุโครงสร้างกักเก็บได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Suphan Burien_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สุพรรณบุรี-
dc.titleStructural geology of the Northern part of Suphan Buri basin, Ban Phai Khwang area Changwat Suphan Burien_US
dc.title.alternativeธรณีวิทยาโครงสร้างบริเวณตอนเหนือของแอ่งสุพรรณบุรี พื้นที่บ้านไผ่ขวาง จังหวัดสุพรรณบุรีen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.authorGifto_bg@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Natthanicha Anansatitporn.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.