Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.authorพรท ฟองสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.date.accessioned2017-09-28T03:17:38Z-
dc.date.available2017-09-28T03:17:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53366-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractประเทศพม่าอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีลักษณะทางธรณีสัณฐานวิทยาที่ แบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ แนวหินคดโค้งทางตะวันตก (Western Fold Belt, WFB) พื้นที่ราบตอนกลาง (Central Lowland, CL) และพื้นที่เขาทางตะวันออก (Eastern Highland, EH) โดยบริเวณที่ศึกษาคือ บริเวณพื้นที่ในแนวหินแปรโมกก (Mogok stone tract) เป็นส่วนหนึ่งของ WFB ซึ่งอยู่ติดกับขอบที่ราบสูง ฉาน โดยหินที่พบส่วนใหญ่จะเป็นหินที่เกิดจากการแปร โดยหินแคลซ์ซิลิเกตและหินแอมฟิโบไลต์ก็สามารถ พบได้บริเวณแนวหินแปรนี้ด้วยเช่นกัน จากการศึกษาศิลาวรรณาและธรณีเคมีพบว่าหินแอมฟิโบไลต์มีธาตุองค์ประกอบในหินเป็นสัดส่วน 32.53 - 34.89 % SiO₂, 13.41 - 15.45 % Al₂O₃, 10.29 - 11.28 % CaO, 10.87 - 12.94 % FeO, 10.22 - 11.58 % MgO ส่วนหินแคลซ์ซิลิเกตมีองค์ประกอบที่ค่อนข้างเปลี่ยนแปลงมากกว่า โดยองค์ประกอบในหินจะเป็น 23.56- 57.19 % SiO₂, 6.31 - 18.43 % Al₂O₃, 1.21-31.30 % CaO, 0.73 - 12.94 % FeO, 0.09 - 1.21 % MgO จากลักษณะทางศิลาวรรณาและธรณีเคมีของหินทั้งสองชนิดสามารถสรุปการเกิดได้ว่า หินแอมฟิ โบไลต์มีต้นกำเนิดจากการแปรสภาพของหินบะซอลต์จากแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรโบราณ ส่วนหินแคลซ์ซิลิเกต เกิดจากหินปูนสกปรกที่เกิดบริเวณใกล้กับชายฝั่งมากกว่า ทำให้ได้เม็ดของตะกอนจากชายฝั่งปะปนอยู่กับเนื้อหินen_US
dc.description.abstractalternativeMyanmar is the country where is located in the north-western region of Thailand. Geomorphology in Myanmar can be divided into 3 types: Western Fold Belt (WFB), Central Lowland (CL) and Eastern Highland (EH). The study area is Mogok stone tract in the WFB which is adjacent to Shan scarp of Shan-Thai plate. Many metamorphic rocks can be found in this study area including calc-silicate and amphibolite. Base on petrographic and geochemical investigations, both of calc-silicate and amphibolite show high-graded metamorphic texture. However, the geochemical composition are different. Amphibolite contains 32.53 - 34.89 % SiO₂, 13.41 - 15.45 % Al₂O3, 10.29 - 11.28 % CaO, 10.87 - 12.94 % FeO, 10.22 - 11.58 % MgO. Calc-silicate contains 23.56- 57.19 % SiO₂, 6.31 - 18.43 % Al₂O₃, 1.21-31.30 % CaO, 0.73 - 12.94 % FeO, 0.09 - 1.21 % MgO. The origin of amphibolite appears to be related to basalt in ancient oceanic plate seems to be between Shan- Thai and Western-Burma plates. Calc-silicate seems to be impure limestone which formed in the shallow marine with influence of continental sediment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- พม่าen_US
dc.subjectธรณีเคมี -- พม่าen_US
dc.subjectหินแอมฟิโบไลต์en_US
dc.subjectPetrology -- Myanmaren_US
dc.subjectGeochemistry -- Myanmaren_US
dc.subjectAmphiboliteen_US
dc.titleศิลาวรรณนาและธรณีเคมีของหินแคลซ์ซิลิเกต และหินแอมฟิโบไลต์ จากเหมืองในพื้นที่โมกก ประเทศพม่าen_US
dc.title.alternativePetrography and geochemistry of calc-silicate and amphibolite from Mogok stone tract, Myanmaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorc.sutthirat@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332722423 พรท ฟองสุข.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.