Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorณฤทธิ ปานวุ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2017-09-28T08:48:58Z-
dc.date.available2017-09-28T08:48:58Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53369-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายที่จะประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตตามแนวรอยเลื่อนตามแนวระดับ บริเวณชายแดนประเทศไทย-พม่า โดยวิธีคำนวณอัตราการเกิดแผ่นดินไหวโดยการศึกษาครั้งนี้จะใช้ข้อมูลแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว 3ชนิด ได้แก่1) Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS)2) The Global Centroid Moment Tensor (CMT) และ 3) กรมอุตุนิยมวิทยา (TMD) ข้อมูลที่ใช้เริ่มตั้งแต่15 ม.ค.1964 ถึง 9 ก.พ. 2015ซึ่งหลังจากปรับปรุงคุณภาพฐานข้อมูลแผ่นดินไหว พบว่ามีข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 950 เหตุการณ์และมีขนาดแผ่นดินไหวโมเมนต์ตั้งแต่ 4.8 ริกเตอร์ขึ้นไปที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกิจกรรมธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริงและทำการคัดเลือกเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีขนาด 6.0 ริกเตอร์ขึ้นไป กำหนดเป็นกรณีศึกษาจำนวน14เหตุการณ์ แล้วนำมาทำการทดสอบย้อนกลับ เพื่อหาค่าตัวแปรอิสระต่างๆที่เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษา เมื่อได้เงื่อนไขที่เหมาะสมแล้ว จึงนำมาคำนวณหาค่าภาวะเงียบสงบ(Z-value) กับฐานข้อมูลแผ่นดินไหวใหม่ที่ปรับปรุงคุณภาพแล้ว เพื่อสร้างแผนที่แสดงการกระจายตัวของค่า Zจากแผนที่แสดงการกระจายตัวของค่า Z ในพื้นที่ศึกษาพบว่าบริเวณที่มีความผิดปกติของค่า Z และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตมี 3บริเวณคือ1)ทางด้านตะวันออกของประเทศพม่าซึ่งมีรอยเลื่อนเมย-ตองยี และรอยเลื่อนเนปิดอว์พาดผ่าน 2) ทางตอนเหนือของประเทศไทยจนถึงทางตะวันออกประเทศพม่าซึ่งมีรอยเลื่อนเมย-ตองยีรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน-ตากรอยเลื่อนเนปิดอว์ และรอยเลื่อนฉานพาดผ่าน และ 3) ทางตะวันตกของประเทศไทยซึ่งมีรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ และรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์พาดผ่านen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study prospective areas of the upcoming moderate to large earthquake were evaluated along the Strike-slip Fault System, Thailand-Myanmar Border by statistical method that investigate the seismicity rate change for detect seismic quiescence . The main dataset are the completeness earthquake catalogue occupied by 3 data sources, i.e., i) Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS), ii) The Global Centroid Moment Tensor (CMT) and iii) Thai Meteorological Department (TMD). After improving the earthquake catalogue process, i.e., homogenizing the earthquake magnitude, earthquake declustering, eliminating the man-made seismicity and selecting magnitude of completeness, the dataset left950 events with MW>4.8 reported during 15 January 1964- 9 February 2015. Then, select case study 14 events which the MW more than 6.0Richter from the new dataset for the retrospective test. After the retrospective test, it is found 3 quiescence-anomaly areas, and the Z-value is +5.1 for N = 25 events and TW= 1.5 years are appropriate characteristic parameter for the Strike-slip Fault System, Thailand-Myanmar Border. Consequently based mainly on the obtained suitable parameter of N and Tw and the most up-to-date seismicity data, the seismic quiescence map reveal that there are 3 prospective areas might be risk for the upcoming moderate-large earthquakes, i.e., northern, central and southern parts of the Strike-slip Fault System, Thailand-Myanmar Border.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1402-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา)en_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่าen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- ไทยen_US
dc.subjectเขตรอยเลื่อนen_US
dc.subjectเขตรอยเลื่อน -- พม่าen_US
dc.subjectเขตรอยเลื่อน -- ไทยen_US
dc.subjectพยากรณ์แผ่นดินไหวen_US
dc.subjectพยากรณ์แผ่นดินไหว -- พม่าen_US
dc.subjectพยากรณ์แผ่นดินไหว -- ไทยen_US
dc.subjectFaults (Geology)en_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Burmaen_US
dc.subjectFault zonesen_US
dc.subjectFault zones -- Burmaen_US
dc.subjectFault zones -- Thailanden_US
dc.subjectEarthquake predictionen_US
dc.subjectEarthquake prediction -- Burmaen_US
dc.subjectEarthquake prediction -- Thailanden_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวระบบรอยเลื่อนตามแนวระดับ ชายแดนประเทศไทย-พม่าen_US
dc.title.alternativeSeismicity rate change along the strike-slip fault system, Thailand-Myanmar borderen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPailoplee.S@hotmail.com-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1402-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432709423_Narit Panwoon.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.