Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53382
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุคนธ์เมธ จิตรมหันตกุล | - |
dc.contributor.author | ขวัญชนก แสงมณี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-28T11:42:19Z | - |
dc.date.available | 2017-09-28T11:42:19Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53382 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | พื้นที่ศึกษาบริเวณหน่วยหินซับซ้อนพอกพูนสระแก้ว-จันทบุรี ภาคตะวันออกของประเทศ ไทย เป็นบริเวณที่แผ่นมหาสมุทรมุดตัวใต้แผ่นทวีปทำให้เกิดการครูดถูของตะกอนที่สะสมอยู่ทำให้ เกิดความซับซ้อนทางธรณีวิทยา จากการศึกษาหินคาร์บอเนตโดยการวิเคราะห์ทางศิลาวรรณนา และบรรพชีวินวิทยาของตัวอย่างแผ่นหินบางจากหินตัวอย่าง 4 จุดศึกษา พบว่าหินปูนจากจุด ศึกษาเป็นหินแวคสโตน และ หินแพคสโตน ประกอบด้วยเพลลอยด์ และมีซากดึกดำบรรพ์จำพวก ปะการัง เป็นส่วนใหญ่ และยังพบลักษณะ แคลสสิ เฟียร์ ซี่งเป็นลักษณะสำคัญในการบ่งชี้สภาพแวดล้อมการตกสะสมของตะกอนว่าอยู่ในทะเลสาบแบบปิด และจากการสำรวจภาคสนาม ในจุดศึกษา WPK 1 หินโผล่ที่พบพบซากดึกดำบรรพ์จำพวกปะการัง เป็นจำนวนมาก จึงคาดว่า การตกสะสมตัวของตะกอนในบริเวณแนวปะการัง ดังนั้นการตกสะสมของตะกอนในจุดศึกษาคาด ว่ามีการตกสะสมของตะกอนในบริเวณทะเลสาบแบบปิด แนวหลังปะการัง และแนวปะการัง นอกจากนี้ในจุดศึกษา ASD 17 ยังพบซากดึกดำบรรพ์ดัชนีของฟูซูลินิด ชนิด Neoschwagerina sp. ซึ่งบ่งบอกอายุเพอร์เมียนตอนกลาง | en_US |
dc.description.abstractalternative | Sra Kaeo-Chanthaburi Accretionary Complex, eastern Thailand where the oceanic plate subducted beneath the continental plate. So, the sediments accumulated in this area have complex characteristics. The study of carbonate rocks using petrography and paleontology of the sample slab from 4 stations showed that limestones from those stations are wackestone and packstone which mostly contain peloid and coral features. Moreover, calcisphere is an indicator of restricted lagoonal environment deposition. Abundance corals found in WPK 1 indicates reef environment. In conclusion, the depositional environments of limestones in the study area were restricted lagoon, back reef and reef. Moreover, Neoschwagerina sp. is found in ASD 17 which represents Middle Permian | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1404 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ศิลาวิทยา -- ไทย | en_US |
dc.subject | หินคาร์บอเนต -- ไทย | en_US |
dc.subject | Petrology -- Thailand | en_US |
dc.subject | Carbonate rocks -- Thailand | en_US |
dc.title | ลำดับชั้นหินทางชีวภาพและศิลาวรรณนาของหินคาร์บอเนต บริเวณหน่วยหินซับซ้อนพอกพูนสระแก้ว-จันทบุรี ภาคตะวันออกของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Biostratigraphy and petrography of carbonate rocks in the Sa Kaeo-Chanthaburi accretionary complex, eastern Thailand | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | sukonmeth.j@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1404 | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5432703623_ขวัญชนก แสงมณี.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.