Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorพงศธร ธัญญวัชรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialสระบุรี-
dc.coverage.spatialแก่งคอย (สระบุรี)-
dc.date.accessioned2017-10-04T06:26:42Z-
dc.date.available2017-10-04T06:26:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53408-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractการเพิ่มขึ้นของประชากรในประเทศไทย ส่งผลให้เกิดการใช้น้ำที่เพิ่มสูงขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดการขาดแคลนน้ำผิวดิน ดังนั้นการสร้างภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยาจึงมีความจำเป็นในด้านการประเมินศักยภาพน้ำบาดาลและกักเก็บซึ่งมีส่วนช่วยในการสำรวจทรัพยากรน้ำบาดาลและการบริหารจัดการน้ำบาดาล พื้นที่ศึกษาตั้งอยู่ในโครงการพัฒนาที่ดินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี และบริเวณใกล้เคียง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยา และอธิบาย ทิศทางการไหลของน้ำบาดาลในบริเวณพื้นที่ศึกษา ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าบริเวณพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยชั้นน้ำ 2 ชั้นได้แก่ ชั้นน้ำตะกอนทราย และชั้นน้ำหินภูเขาไฟ จากข้อมูลระดับน้ำบาดาลจากการออกสำรวจภาคสนามพบว่าน้ำบาดาลไหลจากพื้นที่เติมน้ำในบริเวณทางตอนใต้และทางตะวันออกของพื้นที่ศึกษาไปยังบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ศึกษา ในบางพื้นที่พบแสดงการลดระดับรูปกรวย จากการสูบน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค จากผลการสร้างภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยาพบว่าพื้นที่เติมน้ำในพื้นที่ศึกษามีพื้นที่จ่ายน้ำเป็นของตัวเองซึ่งมีการกักเก็บน้ำบาดาลในลักษณะแอ่งย่อยen_US
dc.description.abstractalternativeIncrease in Thai population has been caused higher amount of water usage and eventually lack of surface water resources. So, hydrogeologic conceptual model was required for qualitatively evaluating of groundwater potential and storage, which can be further used for groundwater exploration and management. The study area is located in Chulalongkorn University Land Development project and adjacent area, Amphoe Kaeng Khoi, Changwat Saraburi. The objectives of this study are to create hydrogeological conceptual model and to describe groundwater flow and direction in this study area. The results showed that there are two types of aquifers: sand aquifer and volcanic aquifer. According to groundwater level data from field observation, groundwater flows in the northwest direction from recharge area, in southern and eastern parts of area. Some areas show cones of depression due to pumping for agricultural and domestic purposes. Hydrogeologic cross sections showed that each recharge zone in study area has individually discharge zone, which store groundwater in their own groundwater sub-basin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1408-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสำรวจทางอุทกธรณีวิทยาen_US
dc.subjectการสำรวจทางอุทกธรณีวิทยา -- ไทย -- สระบุรีen_US
dc.subjectการสำรวจทางอุทกธรณีวิทยา -- ไทย -- แก่งคอย (สระบุรี)en_US
dc.subjectHydrogeological surveysen_US
dc.subjectHydrogeological surveys -- Thailand -- Saraburien_US
dc.subjectHydrogeological surveys -- Thailand -- Kaeng Khoi (Saraburi)en_US
dc.titleลักษณะเฉพาะทางอุทกธรณีวิทยาบริเวณอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีen_US
dc.title.alternativeHydrogeologic characteristics in Amphoe Kaengkhoi, Changwat Saraburien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorlertc77@yahoo.com-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1408-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432722523_พงศธร ธัญญวัชรกุล.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.