Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53485
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | วิชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์ | - |
dc.contributor.author | ปฏิภาณ พจนารถ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | ลพบุรี | - |
dc.coverage.spatial | พัฒนนิคม (ลพบุรี) | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-10T08:06:46Z | - |
dc.date.available | 2017-10-10T08:06:46Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53485 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ในพื้นที่อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี พบว่ามีการทำเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมกระจายตัวเกือบทั้งพื้นที่ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปัญหาการปนเปื้อนของแหล่งน้ำบาดาลในพื้นที่ในอนาคตได้จึงต้องมีการศึกษาชั้นน้ำเพื่อประโยชน์ในการวางแผนเฝ้าระวัง งานวิจัยนี้มุ่งทำการศึกษาคุณลักษณะทางอุทกธรณีวิทยาและทิศทางการไหลของน้ำบาดาลในชั้นน้ำภายในพื้นที่ศึกษาอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ด้วยการรวบรวมข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลธรณีวิทยาหลุมเจาะ ข้อมูลธรณีวิทยา ข้อมูลอุทกธรณีวิทยาและยังทำการสำรวจวัดค่าระดับน้ำบาดาลและการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบหยั่งลึก (Vertical Electrical Sounding, VES) ด้วยวิธีการวางขั้วแบบ Wenner-Schlumberger array ทำให้ผู้วิจัยสามารถสร้างภาพตัดขวางทางด้านอุทกธรณีวิทยา, แผนที่แสดงระดับชั้นความสูงของระดับน้ำบาดาล, แผนที่แสดงทิศทางการไหลของน้ำบาดาล, แผนที่แสดงค่าปริมาณน้ำจำเพาะ (Specific capacity) และแบบจำลองเชิงมโนทัศน์ทางอุทกธรณีวิทยาแบบสามมิติ ได้ข้อสรุปว่าในพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยชั้นน้ำบาดาล 3 ชั้นได้แก่ ชั้นน้ำตะกอนน้ำพัดพา (Qfd), ชั้นน้ำหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียน (Pcms), ชั้นน้ำหินภูเขาไฟ (Vc) และมีทิศทางการไหลของน้ำบาดาลในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ไหลจากฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นแนวภูเขาหินปูนลงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นที่ราบยกเว้นฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ศึกษาซึ่งมีเนินเขากั้นระหว่าง 2 แอ่งน้ำบาดาลทำให้มีน้ำบาดาลบางส่วนในบริเวณนี้ไหลไปทางทิศตะวันตกและบางส่วนไหลไปทางทิศตะวันออกลงสู่แอ่งน้ำทั้งสองและมีค่าสภาพการนำชลศาสตร์ในชั้นน้ำหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียนเป็น 0.226 เมตรต่อชั่วโมงและในชั้นน้ำหินภูเขาไฟ 5.78 เมตรต่อชั่วโมง และมีค่าปริมาณน้ำจำเพาะ (Specific capacity) มากบริเวณรอบภูเขากับเนินเขาคือ 14 ตารางเมตรต่อชั่วโมง | en_US |
dc.description.abstractalternative | An increase in various types of land uses, particularly agricultural and industrial areas in Amphoe Phattana Nikom, Changwat Lopburi may cause the groundwater contamination in the near future. It thus needs to characterize aquifer properties, which play an important role for protection the quality of groundwater resources. This research aimed to study hydrogeological characteristics and groundwater flow of aquifers in this area by collecting geographic data, land use data, lithological data, general geological data, general hydrogeological data as well as field investigation consisting of piezometric head measurement and a geophysical field survey, so-called Vertical Electrical Sounding (VES) by using Wenner-Schlumberger array. After gathering such data and analyzing field investigation, the cross-section of hydrogeological layers and groundwater flow map, based on piezometric head, and finally the three-dimensional hydrogeological conceptual model was established. This study area consists of 3 aquifers as follows: 1) Quaternary floodplain aquifer (Qfd), 2) Permian carbonate meta-sediments aquifer (Pcms) and 3) Volcanic clastic aquifer (Vc). Groundwater-in the Permain carbonate meta-sediment aquifer mainly flows from the southwestern carbonate mountains to the northeastern floodplain. Except, the groundwater flows in a northeastern hill, which is separated into two local groundwater basins: western and eastern local groundwater basin. According to the pumping test data, the hydraulic conductivity of the Permian carbonate meta-sediments aquifer is approx. 0.226 m/hour and of the Volcanic clastic aquifer is approx. 5.78 m/hour. Lastly, the areas in the southwestern mountainous recharge areas has a highest specific capacity (14 m2/hour). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางธรณีวิทยา | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- ลพบุรี | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- พัฒนนิคม (ลพบุรี) | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางอุทกธรณีวิทยา | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางอุทกธรณีวิทยา -- ไทย -- ลพบุรี | en_US |
dc.subject | การสำรวจทางอุทกธรณีวิทยา -- ไทย -- พัฒนนิคม (ลพบุรี) | en_US |
dc.subject | ชั้นน้ำบาดาล | en_US |
dc.subject | ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- ลพบุรี | en_US |
dc.subject | ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- พัฒนนิคม (ลพบุรี) | en_US |
dc.subject | Hydrogeological surveys | en_US |
dc.subject | Hydrogeological surveys -- Thailand -- Lopburi | en_US |
dc.subject | Hydrogeological surveys -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi) | en_US |
dc.subject | Geological surveys | en_US |
dc.subject | Geological surveys -- Thailand -- Lopburi | en_US |
dc.subject | Geological surveys -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi) | en_US |
dc.subject | Aquifers | en_US |
dc.subject | Aquifers -- Thailand -- Lopburi | en_US |
dc.subject | Aquifers -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi) | en_US |
dc.title | ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยาบริเวณ อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Hydrogeological characteristics in Amphoe Phattana Nikom, Changwat Lopburi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | lertc77@yahoo.com | - |
dc.email.advisor | vichaic@yahoo.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Patiparn Photchanart.pdf | 7.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.