Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเครือวัลย์ จันทร์แก้ว-
dc.contributor.authorณิชากร อมรปิยะพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกระบี่-
dc.coverage.spatialเกาะลันตา (กระบี่)-
dc.date.accessioned2017-10-11T03:53:20Z-
dc.date.available2017-10-11T03:53:20Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53495-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractที่ราบแนวสันทรายซึ่งประกอบด้วยสันทรายและที่ลุ่มระหว่างสันทรายจัดเป็นธรณีสัณฐาน ชายฝั่งที่สำคัญ และสามารถพบได้ทั่วไปตามแนวชายฝั่งทะเลทั่วโลก หากทราบอายุของสันทราย แต่ละสันก็มีความเป็นไปได้ที่จะบอกตำแหน่งของชายฝั่งในอดีตและช่วงเวลาต่างๆ ที่มีการพัฒนา ของที่ราบแนวสันทราย งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของที่ราบแนวสันทราย บริเวณหาดทุ่งทะเล อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยใช้วิธีการหาอายุด้วยวิธีการกระตุ้นด้วย แสงในการกำหนดอายุของสันทรายเหล่านี้ จากการสำรวจในภาคสนามได้ทำการเก็บตัวอย่าง ตะกอนจากสันทรายทั้งหมด 8 สัน มาทำการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ทั้งการศึกษาลักษณะทาง กายภาพของตะกอน การวิเคราะห์ค่าการกระจายตัวของขนาดเม็ดตะกอน และการหาอายุด้วยวิธี กระตุ้นด้วยแสง ผลจากการศึกษาตะกอนในห้องปฏิบัติการพบว่าตะกอนของสันทรายส่วนใหญ่มี ขนาดเป็นทรายละเอียดถึงทรายละเอียดมาก มีการเปลี่ยนแปลงของตะกอนในแนวดิ่งพบตะกอนมี ลักษณะขนาดหยาบขึ้นไปทางด้านบนและตะกอนมีขนาดละเอียดขึ้นไปทางด้านบน องค์ประกอบ ทางแร่ประกอบด้วยแร่ควอตซ์เป็นส่วนมาก มีแร่หนักพวกแมกนีไทต์ปะปนบ้างเล็กน้อย ตะกอนมี ความกลมสูง มีความเป็นทรงกลมสูง และมีการคัดขนาดดีถึงดีมาก และจากการหาอายุด้วย วิธีการกระตุ้นด้วยแสงพบว่าสันทรายที่มีอายุมากที่สุดคือประมาณ 7,400±2,400 ปีก่อนปัจจุบัน และสันทรายที่มีอายุน้อยที่สุดคือประมาณ 300±2,240 ปีก่อนปัจจุบัน การหาอายุมีค่าความ ผิดพลาด (±error) ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตามสามารถสรุปวิวัฒนาการของที่ราบแนวสันทรายใน บริเวณนี้ได้คร่าวๆ ว่า เริ่มมีวิวัฒนาการตั้งแต่สมัยโฮโลซีนมาจนถึงปัจจุบันด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย ประมาณ 0.19 เมตร/ปี โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อวิวัฒนาการของที่ราบแนวสันทรายนี้คือการ เปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลตั้งแต่สมัยโฮโลซีน กระแสนํ้าชายฝั่งจากทิศใต้ซึ่งคาดว่าเป็น ตัวกลางหลักในการพัดพาตะกอนen_US
dc.description.abstractalternativeBeach ridge plains which consist of ridges and swales are a common morphological feature of coastal areas all over the world. If the age of each ridge can be determined, position of the coastline in the past and its evolution can be determined. This research aims to study the evolution of the beach ridge plain at Thung Talay beach, Amphoe Koh Lanta, Krabi, by using Optical Stimulated Luminescence dating method. From field work, sediment samples were collected from 8 ridges for laboratory analyses. The samples were subjected to particle size analysis, physical property analysis and OSL dating. All analysed beach ridges are composed of sandy material consisting of mostly fine sand and very fine sand. Quartz was found to be the main mineral composition with a small amount of heavy mineral such as magnetite. The grain shape is sub-rounded to rounded with high sphericity. Sediment are well sorted to very well sorted. Vertical variations found are coarsening-upward and fining-upward. The OSL date age of the beach ridge are as follows, the oldest beach ridge is 7,400±2,400 years and the youngest beach ridge is 300±2,240 years .It is noteworthy that the margin of ±error is very high. From the lab result we can determined that this beach ridge plain began forming during Holocene with an average progradation rate of 0.19 m/year. The main controlling factors for this evolution are sea-level changes since Holocene and the south longshore current direction that supplies sediment to the coastal zone.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1413-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสันหาดen_US
dc.subjectสันหาด -- ไทยen_US
dc.subjectสันหาด -- ไทย -- กระบี่en_US
dc.subjectสันหาด -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่)en_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้างen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทยen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- กระบี่en_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่)en_US
dc.subjectการเปลี่ยนลักษณะของหินen_US
dc.subjectการเปลี่ยนลักษณะของหิน -- ไทยen_US
dc.subjectการเปลี่ยนลักษณะของหิน -- ไทย -- กระบี่en_US
dc.subjectการเปลี่ยนลักษณะของหิน -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่)en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทยen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- กระบี่en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่)en_US
dc.subjectBeach ridgesen_US
dc.subjectBeach ridges -- Thailanden_US
dc.subjectBeach ridges -- Thailand -- Krabien_US
dc.subjectBeach ridges -- Thailand -- Ko Lanta (Krabi)en_US
dc.subjectGeology, Structuralen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailanden_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Krabien_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Ko Lanta (Krabi)en_US
dc.subjectRock deformationen_US
dc.subjectRock deformation -- Thailanden_US
dc.subjectRock deformation -- Thailand -- Krabien_US
dc.subjectRock deformation -- Thailand -- Ko Lanta (Krabi)en_US
dc.subjectSediments (Geology)en_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailanden_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Krabien_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Ko Lanta (Krabi)en_US
dc.titleวิวัฒนาการของที่ราบแนวสันทรายบริเวณหาดทุ่งทะเล อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่en_US
dc.title.alternativeEvolution of beach ridge plain at Thung Talay Beach Amphoe Koh Lanta, Changwat Krabien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1413-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432714523_ณิชากร อมรปิยะพงศ์.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.