Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53555
Title: A comparative study of the effects of the task-based instruction, the form-and-task-based instruction, and the conventional instruction on the students' English learning achievement and writing ability
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบผลของการสอนแบบเน้นงานปฏิบัติ การสอนแบบเน้นรูปภาษาและงานปฏิบัติและการสอนแบบประเพณีนิยมต่อสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนภาษาอังกฤษและความสามารถทางการเขียนของนักศึกษา
Authors: Sasidhorn Soonklang
Advisors: Suphat Sukamolson
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: suphat.s@chula.ac.th
Subjects: English language -- Writing
English language -- Study and teaching
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purposes of this study were:1) to compare the effects of the task-based instruction(TBI),form-and-task-based instruction(FTBI) and conventional instruction(CI) on the students’ English learning achievement and to find their effect sized;2)to compare the effects of the TBI,FTBI and CI on the students’ grammatical accuracy of written production and to find their effect sizes;3) to compare the effects of the TBI,FTBI and CI on the students’ writing ability and to find their effect sizes ;4) to investigate the relationship between the students’ grammatical accuracy and their writing ability and to find its effect size; and 5) to survey the learners’ attitude towards the TBI,FTBI and CI. The subjects were 92 first year technical students at Rajamangala’s University of technology Suvarnabhumi. The research instruments constructed by the researcher were an achievement test, three writing tests,and a set of questionnaires. They were validated by the experts before being piloted with another group of students who had similar characteristics. The data from the main study were analyzed by means of Kruskal-Wallis H test,Rank Sums test,and T-unit analysis. The findings can be summarized as follows: 1. On average, there was no significant difference among the TBI,FTBI and CI groups on the English learning achievement(p is > 0.05). 2.On average,there was no significant difference among the TBI,FTBI and CI groups on the grammatical accuracy of the written production (p > 0.05). 3.On average, there was a significant difference among the TBI,FTBI and CI groups on the writing ability in writing 3.The writing ability of the FTBI group was significantly better than that of the TBI group (p < 0.05) and the effect size was trivial ([eta] [superscript 2] < 0.2).The writing ability of the CI group was significantly better than that of the TBI group(p < 0.05) and the effect size was trivial([eta] [superscript 2] < 0.2).However, the writing ability of the FTBI group was not significantly different from that of the CI group. 4.The relationship between the grammatical accuracy and the writing ability was significant (p is less than 0.05) and moderately positive(r[subscript xy] = 0.5-0.6). The effect size was large(d < 1.2).5.The attitude of the TBI and CI groups as measured by the seven-point semantic differential scale was quite positive,[mean] = 5.12 and 5.1 accordingly, and that of the FTBI was slightly positive,[mean]= 4.98.
Other Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบเน้นงานปฏิบัติ (TBI) การสอนแบบเน้นรูปแบบภาษาและงานปฏิบัติ (FTBI) และการสอนแบบประเพณีนิยม(CI)และศึกษาดัชนีขนาดอิทธิพล 2) เปรียบเทียบผลของความถูกต้องของการใช้ไวยากรณ์ในการเขียนของนักศึกษาที่ได้เรียนโดยวิธีการสอนทั้งสามแบบและศึกษาดัชนีขนาดอิทธิพล 3)เปรียบเทียบผลของความสามารถในการเขียนของนักศึกษาที่เรียนโดยวิธีการสอนทั้งสามแบบและศึกษาดัชนีขนาดอิทธิพล 4)ศึกษาความสัมพันธ์ของความถูกต้องของการใช้ไวยากรณ์ในการเขียนและความสามารถในการเขียนของนักศึกษาและศึกษาดัชนีขนาดอิทธิพล และ 5) ศึกษาเจตคติของนักศึกษาต่อวิธีการสอนทั้งสามแบบ ผลวิจัยได้แก่นักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิจำนวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบวัดสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน แบบสอบเขียนความเรียง 3 ชุด และแบบวัดเจตคติ ที่ผู้วิจัยสร้างและได้รับการตรวจสอบความตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิและทดลองใช้กับกลุ่มนักศึกษาที่มีลักษณะคล้ายผลวิจัยมาแล้ว สถิติที่ใช้วิเคราะห์ คือ Kruskal-Wallis H test,Rank Sums test และ T-unit analysis ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. โดยเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษของกลุ่ม TBI,FTBIและCI แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) 2.โดยเฉลี่ยความถูกต้องของการใช้ไวยากรณ์ในการเขียนของกลุ่ม TBI,FTBIและCI แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ(p > 0.05) 3.โดยเฉลี่ยความสามารถทางการเขียนครั้งที่ 3 ของกลุ่มTBI,FTBIและCI แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ความสามารถทางการเรียนของกลุ่ม FTBI สูงกว่ากลุ่ม TBI อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและดัชนีขนาดอิทธิพลมีขนาดเล็ก ([eta] [superscript 2] < -0.2)ความสามารถทางการเขียนของกลุ่ม CI สูงกว่ากลุ่มTBI อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p < 0.05) และดัชนีขนาดอิทธิพลมีขนาดเล็ก([eta] [superscript 2] < -0.2) แต่ความสามารถทางการเขียนของกลุ่ม FTBIและCIแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4.ความสัมพันธ์ระหว่างความถูกต้องของการใช้ไวยากรณ์ในการเขียนและความสามารถทางการเขียนมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)และอยู่ที่ระดับปานกลาง (r [subscript xy] = 0.5-0.6) ดัชนีขนาดอิทธิพลมีขนาดใหญ่ (d > 1.2) 5.เจตคติวัดโดยมาตรวัดเจตคติโดยเทคนิคนัยจำแนก 7 ระดับของนักศึกษากลุ่ม TBIและCIอยู่ในทางบวกและระดับสูงคือ 5.12 และ 5.1และกลุ่ม FTBI มีเจตคติอยู่ในทางบวกในระดับปานกลางคือ 4.98
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: English as an International Language
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53555
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1707
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1707
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sasidhorn_so_front.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_ch1.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_ch2.pdf6.82 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_ch3.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_ch4.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_ch5.pdf3.55 MBAdobe PDFView/Open
sasidhorn_so_back.pdf31.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.