Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53568
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ ภัยหลบลี้ | - |
dc.contributor.author | เปรมวดี ไตรตั้งวงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | พม่า | - |
dc.coverage.spatial | เขตรอยเลื่อนสะกาย (พม่า) | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-20T03:31:07Z | - |
dc.date.available | 2017-10-20T03:31:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53568 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มุ่งเน้นประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคต ตามแนวรอยเลื่อนสะกาย ตอนกลางประเทศพม่า ด้วยวิธีทางสถิติที่เรียกว่า ระบบวิธีคำนวณพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน ซึ่งวิธีนี้ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ เพื่อประเมินหาภาวะเงียบสงบของกิจกรรมแผ่นดินไหว ก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ โดยในการประเมินจะใช้ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวมาจาก 3 แหล่ง คือ Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS), The Global Centroid Moment Tensor (CMT) และกรมอุตุนิยมวิทยา (TMD) ซึ่งข้อมูลอยู่ในช่วงปี ค.ศ.1977-2014 หลังจากการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว มีข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 3,781 เหตุการณ์และมีขนาดแผ่นดินไหวโมเมนต์ตั้งแต่ 3.5 ริกเตอร์ขึ้นไป พื้นที่ศึกษาครอบคลุมระหว่างละติจูด 14°04'48.0000"N ถึง 28°01'48.0000"N และลองจิจูดที่ 093°49'48.0000" E ถึง 099°12'00.0000"E โดยทำการคัดเลือกเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่สำคัญที่มีขนาด 6.0 ริกเตอร์ขึ้นไป มาเป็นกรณีศึกษา 8 เหตุการณ์ หลังจากนั้นจึงทำการทดสอบย้อนกลับ เพื่อประเมินและกำหนดตัวแปรอิสระต่างๆ ให้เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษา ซึ่งสามารถใช้เป็นสัญญาณบอกเหตุถึงเหตุการณ์แผ่นดินไหวได้ เมื่อได้เงื่อนไขที่เหมาะสมแล้ว จึงนำมาคำนวณกับฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีการบันทึกไว้จนถึงปัจจุบัน ทำให้ได้แผนที่แสดงการกระจายตัวของค่าความผิดปกติของภาวะเงียบสงบในช่วงเวลาปัจจุบัน ซึ่งพบว่าบริเวณที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวมี 2 บริเวณหลักคือ ทางตอนเหนือและทางตอนกลางของรอยเลื่อนสะกาย ซึ่งใกล้กับเมืองมิตจินาและเมืองเนปิดอว์ ตามลำดับ | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this study, the prospective areas of the upcoming large earthquake were evaluated along the Sagaing Fault Zone (SF), Central of Myanmar. In order to find out the precursory seismic quiescence of earthquake, a statistical method, called the Region-Time-Length (RTL) algorithm were, therefore, utilized in this analysis. The main dataset are the completeness earthquake catalogue occupied by 3 data source, i.e., i) Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS), ii) The Global Centroid Moment Tensor (CMT) and iii) Thai Meteorological Department (TMD). After improving the earthquake catalogue, i.e., homogenizing the earthquake magnitude, earthquake declustering of foreshock and aftershock, including eliminating the man-made seismicity, 3,781 events with MW>3.5 reported during 1977-2014 were defined as the completeness data meaningful for any seismicity investigation. Thereafter, 8 available events of the MW>3.5 earthquakes were considered for the retrospective test. According to iterative test, it is reveal that r0 = 75 km and t0 = 1.5 years are suitable characteristic parameter for the SFZ. As a result according to the suitable characteristic parameters mentioned above and the present-day seismicity data, it is revealed that there are 2 prospective areas might be generated by the upcoming large earthquakes, i.e., Myitkyina in the north and Naypyidaw in the central parts of SFZ. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1420 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน -- พม่า | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน -- พม่า -- เขตรอยเลื่อนสะกาย | en_US |
dc.subject | พยากรณ์แผ่นดินไหว | en_US |
dc.subject | พยากรณ์แผ่นดินไหว -- พม่า | en_US |
dc.subject | พยากรณ์แผ่นดินไหว -- พม่า -- เขตรอยเลื่อนสะกาย | en_US |
dc.subject | Fault zones | en_US |
dc.subject | Fault zones -- Burma | en_US |
dc.subject | Fault zones -- Burma -- Sagaing Fault Zone | en_US |
dc.subject | Earthquake prediction | en_US |
dc.subject | Earthquake prediction -- Burma | en_US |
dc.subject | Earthquake prediction -- Burma -- Sagaing Fault Zone | en_US |
dc.title | ระบบวิธีคำนวณพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อนตามแนวเขตรอยเลื่อนสะกาย ตอนกลางประเทศพม่า | en_US |
dc.title.alternative | Region-time-length algorithm along the Sagaing fault zone, Central Myanmar | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Pailoplee.S@hotmail.com | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1420 | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5432721923_Premwadee Traitangwong.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.