Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเมธ พันธุวงค์ราช-
dc.contributor.authorชยุตม์ แสงสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialประจวบคีรีขันธ์-
dc.date.accessioned2017-10-25T10:58:50Z-
dc.date.available2017-10-25T10:58:50Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53600-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา . คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractปัญหาการกัดเซาะของชายฝั่งทะลนับว่าเป็นปัญหาของชายฝั่งทะเลอ่าวไทยในปัจจุบันรวมไปถึงในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การศึกษาในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลระหว่างปี พศ. 2498-2559 บริเวณชายฝั่งจากบ้านบ่อนอกถึงบ้านทุ่งน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) รวมไปถึงการศึกษาลักษณะทางธรณีสัณฐานและรูปร่าง ของชายฝั่งโดยการเก็บข้อมูลภาคสนามได้แก่ การวัดความลาดชันชายหาดและการเก็บตะกอน ชายหาดเพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของตะกอนชายหาดปัจจุบัน จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลระหว่างปี พศ. 2498-2559 ซึ่งแบ่งพื้นที่ย่อยออกเป็น 3 บริเวณได้แก่ตอนเหนือ ตอนกลาง และตอนใต้โดยการเปลี่ยนแปลงแนว ชายฝั่งทะเลในช่วงเวลาก่อนมีการสร้างสิ่งก่อสร้างบริเวณแนวชายฝั่งทะเลในช่วงปีพศ. 2498-2511 ทุกบริเวณมีแนวโน้มการสะสมตัวโดยตอนกลางมีอัตราการสะสมตัวเฉลี่ยสุงสุดที่ 2.07 เมตร/ปี ต่อมาคือบริเวณตอนเหนือและตอนใต้ของพื้นที่โดยมีอัตราการสะสมตัวเฉลี่ย 0.61 และ 0.38 เมตร/ปี ตามลำดับหลังจากช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและการสร้างสิ่งก่อสร้างของมนุษย์ในช่วงปี พศ. 2537-2559 ทางตอนเหนือมีการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลเป็นชายฝั่งกัดเซาะโดยมีอัตราการกัดเซาะเป็น 0.29 เมตร/ปี ส่วนบริเวณตอนกลางและตอนใต้มีแนวโน้มเป็นแนวชายฝั่งคงที่โดยมีอัตราการสะสมตัว 0.10 และ 0.16 เมตร/ปีและจากการศึกษาข้อมูลภาคสนามและเปรียบเทียบรูปแบบชายฝั่งสามารถจาแนกชายฝั่งเป็น 2 รูปแบบคือตอนเหนือของแม่น้ำกุยเป็นชายฝั่งแบบ Tide and wave-dominated โดยมีขนาดตะกอนขนาดทรายละเอียดจนถึงทรายละเอียดมากและบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำกุยเป็นชายฝั่งแบบ Wave-dominated โดยมีขนาดตะกอนขนาดทรายปานกลางจนถึงทรายละเอียดโดยตะกอนในพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยแร่ควอตซ์เป็นหลักและมีความกลมมนสูงและมีรูปร่างแบบ Sub rounded-Rounded และมีทิศการเคลื่อนที่กระแสน้ำเลียบชายฝั่งจากทิศใต้ไปทิศเหนือ โดยปัจจัยที่ทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลในพื้นที่ศึกษาคือการสร้างสิ่งก่อสร้างบริเวณชายฝั่งทะเลและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยน์ของที่ดินของมุษย์en_US
dc.description.abstractalternativeCoastal erosion is a major problem for people who living along the coast at the Gulf of Thailand as well as in Prachuap Khiri Khan province, which is caused by natural and human. The objective of study is to investigate the changes of coastline between year 1955 to 2016 along the coast from Ban Bo Nok to Ban Thung Noi, Prachuap Khiri Khan province. By using geographic information technology (GIS) as well as studying the coastal geomorphology and physical properties of beach sediment. Field study area including Beach profile measurement and beach sediment sampling. The study area was divided into three sub area, northern, central and southern parts. The coastline before construction of human structures in 1955-1968, every tree sub-area was characterized as a deposition coast. At central part, the average accumulation rate is 2.07 m/yr, followed by the northern and southern parts with an average accumulation rate of 0.61 and 0.38 m/yr. Respectively, after the change in land use and construction of human structures during 1994-2016 the northern part was characterized as erosional coast which the rate of erosion by 0.29 m/yr. In contrast, the central and southern parts are likely to be stable coast which accumulation rates was 0.10 and 0.16 m/yr. Field study and the Coastal Comparison can be divided coastline in study area into two types, the northern part of the Kui river is tide and wave-dominated coastline, compose of sediment grain size which fine sand to very fine sand and the southern part of the Kui river is wave-dominated compose of sediment grainsize which medium to fine sand and sediments in the study area consisting primarily with quartz, high sphericity and subrounded-rounded shape. The net longshore current direction is flow from the south to the north. The factors that affect to the change of coastline in the study area are the construction of coastal structures and changes and land use change.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่งen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectCoastal geomorphologyen_US
dc.subjectCoast changes -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectCoasts -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่และเวลาของแนวชายฝั่งทะเลจากบ้านบ่อนอก ถึงบ้านทุ่งน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeSpatial and temporal change of coastline from Ban Bo Nok to Ban Thung Noi, Changwat Prachuap Khiri Khanen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorphantuwongraj.s@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chayut Sangsuwan.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.