Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53601
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | เกียรติพงษ์ คำดี | - |
dc.contributor.author | ปัณชญา กรุดสาท | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | เพชรบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-25T11:46:13Z | - |
dc.date.available | 2017-10-25T11:46:13Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53601 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา . คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันสารเคมีจำนวนมากเข้ามามีบทบาทต่อการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเกษตรกรรมและด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปจะนำสู่การปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงน้ำบาดาล ซึ่งพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายเป็นพื้นที่ขาดแคลนน้ำผิวดิน ทำให้น้ำบาดาลเป็นทางเลือกหลักในการใช้อุปโภค โดยคุณภาพน้ำบาดาลอาจมีการปนเปื้อนของสารเคมีโดยเฉพาะการปนเปื้อนของไนเตรท จุดประสงค์ของงานครั้งนี้คือการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Visual MODFLOW เพื่อศึกษาทิศทางการไหลของน้ำบาดาลและลักษณะการแพร่กระจายของไนเตรทในน้ำบาดาล โดยติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 เพื่อใช้ในแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาลที่สภาวะคงที่และสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา พบว่า ค่าเฉลี่ยรากที่สองของความคลาดเคลื่อนอยู่ในช่วง 5.88-9.49 เมตร โดยชั้นน้ำที่มีศักยภาพที่สุด คือ ชั้นน้ำประเภทตะกอนที่ราบน้ำท่วมถึง เนื่องจากมีค่าสภาพการนำชลศาสตร์สูง คือ 23.76 m/d ส่วนแบบจำลองการแพร่กระจายของไนเตรทโดยวัดค่าปริมาณไนเตรทในน้ำตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558 พบว่า ค่าเฉลี่ยรากที่สองของความคลาดเคลื่อนอยู่ในช่วง 0.42-3.58 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยแบบจำลองแสดงทิศทางการไหลของน้ำบาดาลจากพื้นที่เติมน้ำบริเวณภูเขาไหลลงสู่กลางแอ่งซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่รับน้ำ โดยพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของไนเตรทเนื่องจากเป็นพื้นที่เกษตรกรรมหนาแน่นและมีลักษณะเป็นแอ่งน้ำบาดาล เมื่อพิจารณาจากการปรับและวิเคราะห์ความอ่อนไหวของแบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์พบว่าตัวแปรที่มีความอ่อนไหวต่อการปรับแก้มากที่สุดได้แก่ค่าสภาพการนำชลศาสตร์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nowadays a lot of chemicals are widely used in human activities, such as community, agriculture and industry. When using in excessive amounts, they can lead to soil and groundwater contamination. The study area is Huay Sai Royal Development Study Center where lacks of surface water, groundwater thus is the major source for the local community. However, the quality of groundwater may be not appropriate for consumption due to nitrate contamination. The objective of this study was to simulate groundwater flow and nitrate contamination in this area by using the mathematical models, so-called Visual MODFLOW. The groundwater flow modeling was calibrated and then verified with measured groundwater levels (from August 2011 to October 2014) in both the steady and transient states with RMS ranging from 5.88 – 9.49 m. According to the calibration and verification result, the main groundwater aquifers, flood-plain deposit aquifer, Qfd, has the highest hydraulic conductivity (K) of 23.76 m/day. The nitrate contamination was also well fitted with observed nitrate concentrations (from October 2014 to February 2015) with RMS ranging from 0.42 – 3.58 mg/L. The model revealed that groundwater flows from the recharge zone in high land to discharge zone located in the center of groundwater basin where was found high amount of nitrate contaminated in the groundwater due to slow groundwater flow and intensively agricultural areas. Finally, based on the sensitivity analysis, K is the most sensitive parameters affecting groundwater level and nitrate concentration. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำบาดาล -- การปนเปื้อน | en_US |
dc.subject | น้ำบาดาล -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | สารประกอบไนโตรเจน | en_US |
dc.subject | ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | en_US |
dc.subject | Groundwater -- Contamination | en_US |
dc.subject | Groundwater -- Mathematical models | en_US |
dc.subject | Nitrates | en_US |
dc.subject | Huay Sai Royal Develoment Study Center | en_US |
dc.title | แบบจำลองการปนเปื้อนของไนเตรทในน้ำบาดาลบริเวณศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และบริเวณใกล้เคียง อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Nitrate contamination model of groundwater in Huay Sai royal development study center and adjacent areas, Amphoe Cha-am, Changwat Phetchaburi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | lertc77@yahoo.com | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panchaya Krutsat.pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.