Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53604
Title: ศิลาวรรณนาและสภาพแวดล้อมในอดีตของหินปูนไทรแอสสิก บริเวณทิศใต้ของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
Other Titles: Petrography and paleoenvironment of triassic limestone in the south of Amphoe Mae Moh, Changwat Lampang
Authors: ปฏิพัทธ์ ลาพิมล
Advisors: ฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: thasineec@gmail.com
Subjects: ศิลาวิทยา
ศิลาวิทยา -- ไทย
ศิลาวิทยา -- ไทย -- ลำปาง
ศิลาวิทยา -- ไทย -- แม่เมาะ (ลำปาง)
หินปูน
หินปูน -- ไทย
หินปูน -- ไทย -- ลำปาง
หินปูน -- ไทย -- แม่เมาะ (ลำปาง)
การลำดับชั้นหิน (ธรณีวิทยา)
Petrology
Petrology -- Thailand
Petrology -- Thailand -- Lampang
Petrology -- Thailand -- Mae Mo (Lampang)
Limestone
Limestone -- Thailand
Limestone -- Thailand -- Lampang
Limestone -- Thailand -- Mae Mo (Lampang)
Geology, Stratigraphic -- Triassic
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางศิลาวรรณนาและสภาพแวดล้อมการสะสมตัวในอดีตของหินปูนยุคไทรแอสสิก บริเวณทางทิศใต้ของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง การศึกษาครั้งนี้ได้มีการเก็บหินตัวอย่างทั้งหมด 27 ตัวอย่าง เพื่อนำมาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จากการศึกษาศิลาวรรณนาของหินตัวอย่างสามารถแบ่งแยกหินปูนได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มแรกคือกลุ่มของหิน aggregate grains grainstone หรือ peloidal packstone-grainstone กลุ่มที่สองคือกลุ่มหิน bioclastic packstone-grainstone และกลุ่มที่สามคือกลุ่มหิน mudstone ฟอสซิลส่วนใหญ่ที่พบเป็นฟอสซิลของฟอแรมินิเฟอรา สาหร่าย และหอยกาบเดี่ยว จากการศึกษาพบฟอสซิลที่สามารถบ่งบอกอายุเทียบเคียงอยู่ในยุคไทรแอสสิกตอนปลายและจากลักษณะเด่นที่พบเป็นเพลลอยด์และ aggregate grains บ่งบอกว่าหินที่พบมีสภาพแวดล้อมการสะสมตัวในอดีตเกิดบริเวณที่เป็นลากูน นอกจากนั้นยังพบลักษณะของ fibrous calcite ที่พบในบางพื้นที่เป็นลักษณะที่บ่งบอกว่าหินมีสภาพแวดล้อมการสะสมตัวบริเวณแนวปะการัง
Other Abstract: The aim of this work is to study petrography and paleoenvironment of limestone outcrops at the south of Amphoe Mae Moh, Changwat Lampang.In this study, 27 samples were collected in order to study petrography. Petrography of the rocks can be divided in to three groups. First group is classified as an aggregate grains grainstone or peloidal packstone-grainstone. Second group is classified as a bioclastic packstone- grainstone and the last group is classified as a mudstone. The main fossils found in this area are foraminifera, algae and gastropod. Based on foraminifera, the age of limestone is indicated as Carnian age or early Late Triassic. Peloids and aggregate grains mainly found in the study area, were common in shallow platform interiors where was a protected shallow-marine environments or lagoon. It is suggested that the depositional energy was low to moderate. fibrous calcite found in some areas indicates that the rocks were in reef environment
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53604
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patipat Lapimol.pdf6.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.