Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนตรี ชูวงษ์-
dc.contributor.advisorฐานบ ธิติมากร-
dc.contributor.authorปิติภัทร พูลทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialประจวบคีรีขันธ์-
dc.date.accessioned2017-10-27T03:30:52Z-
dc.date.available2017-10-27T03:30:52Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53606-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractพื้นที่ชายฝั่งกุยบุรีเป็นชายฝั่งทางด้านทิศตะวันตกของอ่าวไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ บริเวณส่วนบนของตะกอนในพื้นที่นี้จะถูกปิดทับด้วยตะกอนที่มาสะสมตัวโดยอิทธิพลของลมพายุที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ในช่วงมรสุม งานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาถึงลักษณะภาพตัดขวางและโครงสร้างภายในของตะกอนสันทรายริมหาด (Beach Ridge) ของพื้นที่ด้วยวิธี Ground Penetrating Radar (GPR) จำแนกสมบัติทางกายภาพของตะกอนที่ได้จากการเจาะสำรวจ และเทียบเคียงกับสัญญานที่ได้จากวิธีสำรวจโดย GPR และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความชื้น (Water content) ในชั้นตะกอนกับลักษณะเฉพาะของตะกอนที่มีผลต่อลักษณะสัญญาณของ GPR งานวิจัยเริ่มจากการทำการเลือกจุดเก็บข้อมูลจีโอเรดาห์ด้วยเครื่อง GPR จำนวน 2 แนว ที่ความยาว 250 เมตร และ 280 เมตร ในทิศทางจากชายฝั่งเข้าหาทะเล จากนั้นทำการวิเคราะห์สัญญาณจาก GPR และเลือกจุดเก็บตัวอย่างตะกอน โดยหัวเจาะออเกอร์ (Auger) จำนวน 6 หลุม เพื่อนำมาศึกษาและจำแนกสมบัติทางกายภาพของตะกอน โดยวิธีการวิเคราะห์หาค่าการกระจายตัวของขนาดเม็ดตะกอน (Grain Size Analysis) และทำการวัดค่าปริมาณน้ำในเชิงปริมาตร (Volumetric Water Content) ของตัวอย่างตะกอน จากการแปลสัญญาณจากเครื่อง GPR พบว่าลักษณะการสะสมตัวของตะกอนมีลักษณะเป็นการสะสมตัวเข้าสู่ทะเล (Progradation deposit) เป็นหลัก และตะกอนมีการสะสมในทิศทางเข้าหาชายฝั่งในบางช่วง ซึ่งสรุปได้ว่าพื้นที่ในบริเวณนี้สามารถพบได้ทั้งตะกอนที่สะสมตัวในสภาพแวดล้อมปกติ (Shore-normal process) และความเป็นไปได้ที่จะพบตะกอนที่สะสมในสภาพแวดล้อมที่ไม่ปกติซึ่งเป็นผลมาจากการเกิดลมพายุพัดพา โดยขนาดเม็ดตะกอนในพื้นที่ศึกษาจะมีตั้งแต่ตะกอนทรายละเอียดจนถึงปานกลาง และพบความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของขนาดเม็ดตะกอนกับการเปลี่ยนแปลงของค่าปริมาณน้ำในดิน ซึ่งสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสัญญาณที่ได้จาก GPRen_US
dc.description.abstractalternativeKuiburi Coast is located in the western part of the Gulf of Thailand, Kui Buri District, Prachuap Khiri Khan Province. On top of beach deposit in this area is often overlain by storm washover sediment. The purpose of this research is to characterize the internal structures of beach ridge by Ground Penetrating Radar (GPR) method and to identify the physical properties of sediments obtained from exploratory drilling and comparison with the signal profile from GPR survey. The relative between water content and characteristics of sediment will also be discussed. Scope of this research is limited to analyze Geo radar (GPR) from 2 survey lines which are 250 m and 280 m from land to sea respectively. After GPR signals were analyzed, 6 locations were selected to collect sediment cores by hand auger. Physical properties analysis includes grain size analysis and water content (by volume). As a result, GPR signal indicated the characterization of sediment deposition was deposited seaward as progradation mainly and some landward inclinations. Thus, it can be concluded that beach sediments in this area contains both shore-normal process and possible unusual deposit by storm that dominated by fine to medium size of sand. Relationship between grain size versus the amount of water content show significant key in correspond well with GPR signal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสันหาดen_US
dc.subjectสันหาด -- ไทยen_US
dc.subjectสันหาด -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทยen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectเรดาร์ทะลุทะลวงผิวดินen_US
dc.subjectBeach ridgesen_US
dc.subjectBeach ridges -- Thailanden_US
dc.subjectBeach ridges -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectSediments (Geology)en_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailanden_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectGround penetrating radaren_US
dc.titleลักษณะเฉพาะการสะสมตัวของตะกอนสันทรายริมหาดโดยวิธี จีโอเรดาร์ อําเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeCharacteristics of beach ridge deposit by geo-radar from Amphoe kuiburi, Changwat Prachuap khiri khanen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisormonkeng@hotmail.com-
dc.email.advisorthanop.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitipat Poonsub.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.