Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5418
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภิรมย์ กมลรัตนกุล-
dc.contributor.advisorจิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์-
dc.contributor.authorนภชา สิงห์วีรธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-11T12:02:34Z-
dc.date.available2008-01-11T12:02:34Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741712391-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5418-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนและรูปแบบการของการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2544 ในด้านส่งเสริมสุขภาพจำนวน 8 ชุดสิทธิประโยชน์ ในมุมมองของผู้ให้บริการ โดยใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนา เก็บข้อมูลย้อนหลัง 1 ปี (1 ตุลาคม 2543 - 30 กันยายน 2544) มีการแบ่งหน่วยงานต้นทุนออกเป็น 66 หน่วยต้นทุน แต่ละหน่วยต้นทุนประกอบด้วยต้นทุนค่าแรง ต้นทุนค่าวัสดุ ต้นทุนค่าลงทุน ผลการศึกษาพบว่า มัธยฐานต้นทุนรายกิจกรรมของการตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อยู่ระหว่าง 25.7 - 213.4 บาทต่อครั้ง การดูแลสุขภาพเด็กพัฒนาการและภาวะโภชนาการ อยู่ระหว่าง 15.4 - 34.9 บาทต่อครั้ง การวางแผนครอบครัว อยู่ระหว่าง 137.1 - 486.7 บาทต่อครั้ง การเยี่ยมบ้าน อยู่ระหว่าง 643.8 - 694.7 บาทต่อครั้ง การให้ความรู้ด้านสุขภาพ อยู่ระหว่าง 47.3 - 135.7 บาทต่อครั้ง การให้คำปรึกษาในการส่งเสริมสุขภาพ อยู่ระหว่าง 89.4 - 94.6 บาทต่อครั้ง การส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก อยู่ระหว่าง 28.1 - 28.2 บาทต่อครั้ง ร้อยละต้นทุนค่าดำเนินการต่อต้นทุนทางตรง กิจกรรมการซักประวัติตรวจร่างกายหญิงตั้งครรภ์เป็นร้อยละ 83.6 การดูแลสุขภาพเด็ก พัฒนาการ และภาวะโภชนาการเป็นร้อยละ 82.3 การวางแผนครอบครัวเป็นร้อยละ 79.4 การเยี่ยมบ้านเป็นร้อยละ 91.4 การให้ความรู้ด้านสุขภาพเป็นร้อยละ 95.9 การให้คำปรึกษาในการส่งเสริมสุขภาพคิดเป็นร้อยละ 75.2 และการส่งเสริมสุขภาพในช่องปากเป็นร้อยละ 75.2 ส่วนร้อยละต้นทุนหน่วยสุดท้ายต่อต้นทุนทางตรง กิจกรรมซักประวัติตรวจร่างกายหญิงตั้งครรภ์เป็นร้อยละ 60.1 การดูแลสุขภาพเด็ก พัฒนาการ และภาวะโภชนาการเป็นร้อยละ 94.4 การวางแผนครอบครัวเป็นร้อยละ 70.1 การเยี่ยมบ้านเป็นร้อยละ 92.6 การให้ความรู้ด้านสุขภาพเป็นร้อยละ 74.4 การให้คำปรึกษาสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนรวมเป็นร้อยละ 83.1 การส่งเสริมสุขภาพในช่องปากเป็นร้อยละ 86.6 ส่วนกิจกรรมที่มีต้นทุนแตกต่างกันระหว่างขนาดโรงพยาบาลคือ การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย (p = 0.04) กิจกรรมการติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงและช่วยตัวเองได้น้อย (p = 0.046) กิจกรรมการจัดนิทรรศการในสถานพยาบาล (p=0.022) ความคิดเห็นรูปแบบการให้บริการส่งเสริมสุขภาพในสถานบริการสาธารณสุขไม่ควรมีกิจกรรมในชุดเหมือนกันทุกสถานบริการร้อยละ 28.30 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นพื้นฐานประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในการวางแผนดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพทั่วหน้า ในด้านงบประมาณ และการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพทั่วหน้าอย่างเหมาะสมen
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study are to assess provision and unit cost of health promotion services under the eight benefit packages of the universal health insurance program in hospital owned by the Ministry of Public Health. The fiscal year (October 2000-September 2001) 2001 cost data From the provider perspective were retrospectively collected. There were 66 cost centers of which labour costs material costs and capital costs were gathered. It was found that median direct costs of ante-natal care services ranged from 25.7 to 213.4 baht per visit. The median costs of chilsren health care, including development and nutritional status, were between 15.4 and 34.9 baht per visit. The family planning programs had the median costs between 137.1 and 486.7 baht per visit. Home health care costed between 643.89 and 654.76 baht visit. Health education services costed between 47.3 -135.7 baht per visit. The median costs of health promotion consultation services ranged from 89.4 to 94.6 baht per service. Dental health promotion services had the median costs between 28.1 and 28.2 baht per visit. The proportions of the operating costs per visit to the direct cost per visit in ante - natal care, children health care, Family planning, home health care, health education, health promotion consultation services and dental health promotion services were 83.6, 82.3, 79.4, 91.4, 95.9,75.2 and 75.2 percent , respectively. The proportions of the marginal cost to the direct cost per visit of the services ante - natal care, children health care, Family planning, home health care, health education, health promotion consultation services and dental health promotion services were 60.1, 94.4, 70.1, 92.6, 74.4, 83.1, and 86.6percent, respectively. The health promotion services that had significantly different, unit costs among hospitals with different sizes were thallassemia screening (p = 0.04), post-natal care for risky mothers (p = 0.046) and hospital-based health exhibition (p = 0.022). Some 28.30 percent of the sampled hospitals suggested that the health promotion package may not be the some for all hospitals. These findings could be applied in budget planning and management of the benefit package of the universal health insurance program.en
dc.format.extent3681652 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลen
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen
dc.subjectประกันสุขภาพen
dc.titleต้นทุนการให้บริการส่งเสริมสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขen
dc.title.alternativeCost of health promotion service in state hospital under the universal health coverage's core packageen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์ชุมชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPirom.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorJiruth.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noppacha.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.