Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีรัตน์ สุพุทธิธาดา-
dc.contributor.advisorนิจศรี ชาญณรงค์-
dc.contributor.authorสวิตา ธรรมวิถี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-18T03:48:08Z-
dc.date.available2008-01-18T03:48:08Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741727879-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5518-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของเทคนิคจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีเป็นเวลา 2 สัปดาห์ในแง่ความคล่องแคล่วในการใช้แขนข้างที่อ่อนแรง ซึ่งวัดโดย Action Research Arm test (ARA test) การทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ ซึ่งวัดโดย Functional Independent Measure (FIM) ความแข็งแรงของมือและนิ้วมือซึ่งวัดโดย hand grip and pinch strength dynamometer และภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งของแขน มือ และนิ้วมือข้างที่อ่อนแรงซึ่งวัดโดย Modified Ashworth Scale (MAS) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การศึกษาครั้งนี้เป็น observer-blinded randomized control trial ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเรื้อรัง 69 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 33 คนและกลุ่มควบคุม 36 คน กลุ่มทดลองได้รับเทคนิคจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีร่วมกับวิธีดั้งเดิมนาน 2 สัปดาห์ๆ ละ 5 วันๆ ละ 6 ชั่วโมง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับวิธีดั้งเดิมอย่างเดียว นาน 2 สัปดาห์ เช่นกัน ผลการทดลองสรุปว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนความคล่องแคล่ว(ARA test) ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ (FIM) ความแข็งแรงของนิ้วมือ (pinch strength) ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (MAS) ระหว่างกลุ่มที่ฝึกเทคนิคจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีร่วมกับวิธีดั้งเดิม กับกลุ่มที่ฝึกวิธีดั้งเดิมเท่านั้น ภายหลังการฝึกที่ 2 สัปดาห์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p < 0.05) แต่ความแข็งแรงของมือ (hand grip strength) ระหว่างกลุ่มที่ฝึกเทคนิคจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีร่วมกับวิธีดั้งเดิมกับกลุ่มที่ฝึกวิธีดั้งเดิมเท่านั้นภายหลังการฝึกที่ 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p > 0.05) ดังนั้น เทคนิคการจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีร่วมกับการฝึกแขนข้างที่อ่อนแรงมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จากการศึกษานี้นับว่าเป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มความสามารถในการใช้งานและการทำกิจกรรมต่างๆ ของแขนข้างที่อ่อนแรงได้โดยการยับยั้งการเรียนรู้การใช้แขนข้างที่ดีen
dc.description.abstractalternativeThis experimental study evaluates the effectiveness of constraint-induced movement technique (CIMT) for 2 weeks in the dexterity with Action Research Arm Test (ARA test), activities of daily living with Functional Independent Measure (FIM), hand grip strength, pinch strength with grip and pinch dynamometer and spasticity with Modified Ashworth Scale (MAS) of affected upper extremities in chronic stroke patients. In an observer-blinded randomized control trail, 69 chronic stroke patients were allocated to either constraint-induced movement technique (n=33) or only conservative treatment (n=36). The CIMT group receieved 6 hours of daily affected upper extremities training and restrained unaffected upper extremities for 5 days per weeks, totally 2 weeks. The control group received only upper extremities training without restrained unaffected upper extremities for 2 weeks. The results of this study showed that the CIMT group has ARA test, FIM, pinch strength of affected upper extremities statistically significant higher than the control group and significant lower spasticity of affected upper extremities than the control group at p < 0.05 but hand grip strength was no statistically significant difference at p > 0.05. Therefore, constraint-induced movement technique of unaffected upper extremities is advantage for chronic stroke patients. This study may be an efficacious technique of improving motor activity and use of the affected side of patients exhibiting learned nonuse.en
dc.format.extent1358718 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหลอดเลือดสมอง -- โรค -- การรักษาen
dc.subjectการเคลื่อนไหวของมนุษย์en
dc.subjectแขนen
dc.titleประสิทธิผลของเทคนิคจำกัดการเคลื่อนไหวของแขนข้างที่ดีในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเรื้อรังen
dc.title.alternativeEffectiveness of constraint-induced movement technique of unaffected cupper extremities in chronic stroke patienen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsareerat1@yahoo.com-
dc.email.advisorfmednsu@md2.md.chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sawita_Thum.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.