Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5541
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง-
dc.contributor.authorมณีรัตน์ สิทธิโชค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-18T10:25:18Z-
dc.date.available2008-01-18T10:25:18Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741746113-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5541-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาความความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารและครู ในโรงเรียนผู้นำการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และศึกษาปัจจัยคัดสรรที่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวน ของความความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารและครู ในโรงเรียนผู้นำการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า 1. การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาจากครูกับปัจจัยคัดสรร พบปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความคิดเห็น ในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 29 ตัว 3 อันดับแรกได้แก่ 1) การฝึกอบรม 2) การพัฒนาทักษะ 3) ใช้ Microsoft Access ในการบริหารงานโรงเรียน และพบว่าปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ทางลบ กับความคิดเห็นในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 1 ตัวคือ ความเร็วในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 28.8 Kbps 2. การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาจากผู้บริหารกับปัจจัยคัดสรร พบปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความคิดเห็นในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 3 ตัว ได้แก่ 1) ภาพลักษณ์ของโรงเรียน 2) การให้รางวัล 3) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 3. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติจากตัวแปรที่ศึกษาจากครู พบตัวแปรที่สามารถอธิบายความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 10 ตัว โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมอธิบายความแปรปรวน ของความคิดเห็นในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ เท่ากับ 64.5% 4. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติจากตัวแปรที่ศึกษาจากผู้บริหาร พบตัวแปรที่สามารถอธิบายความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ตัว โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมอธิบายความแปรปรวน ของความคิดเห็นในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ เท่ากับ 82.3% 5. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นจากตัวแปรที่ศึกษาจากครู พบตัวแปรที่สามารถอธิบายความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 10 ตัว โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมอธิบายความแปรปรวน ความคิดเห็นในการปฏิบัติงานได้เท่ากับ 52.0% 6. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นชั้นจากตัวแปรที่ศึกษาจากผู้บริหาร พบตัวแปรที่สามารถอธิบายความคิดเห็นในการปฏิบัติงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ตัว โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมอธิบายความแปรปรวนความคิดเห็นในการปฏิบัติงานได้เท่ากับ 79.4%en
dc.description.abstractalternativeTo study the opinions on using information and communications technology of administrators and teachers of the leading schools using technology for learning, and to study the selected factors to identify predictor variables in the opinions on using information and communications technology of administrators and teachers of the leading schools using technologies for learning. The results were as follows 1. There were statistically significant positive relationships at .05 level affected the opinions characteristics and 29 selected variables from teachers. The first three characteristics were 1) training 2) development and 3) using Microsoft Access of management in school. There was significant negative relationships at .05 level affected the opinions characteristics 1 selected variable from teachers was speed in connecting to internet 28.8 Kbps. 2.There were statistically significant positive relationships at .05 level affected the opinions characteristics and 3 selected variables from administrators. The characteristics were 1) image of school 2) reward and 3) School-Base management. 3. In multiple regression analysis at .05 level with enter method from teachers, there were 10 variables affected the opinions characteristics. These 10 predictor variables together were account for 64.5% of the variance. 4. In multiple regression analysis at .05 level with enter method from administrators, there were 2 variables affected the opinions characteristics. These 2 predictor variables together were account for 82.3% of the variance. 5. In multiple regression analysis at .05 level with stepwise method from teachers, there were 10 variables affected the opinions characteristics. These 10 predictor variables together were able to account for 52.0% of the variance. 6. In multiple regression analysis at .05 level with stepwise method from administrators, there were 2 variables affected the opinions characteristics. These 2 predictor variables together were able to account for 79.4% of the variance.en
dc.format.extent827277 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.491-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศen
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการศึกษาen
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนen
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนen
dc.subjectครูen
dc.subjectนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ -- ไทยen
dc.subjectนโยบายการสื่อสาร -- ไทยen
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารและครู ในโรงเรียนผู้นำการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้en
dc.title.alternativeSelected factors affecting the opinions on using information and communications technology of administrators and teachers of the leading schools using technologies for learningen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKidanand.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.491-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
maneeratS.pdf807.89 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.