Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55768
Title: ละลองลอยขนาดอนุภาค 10 ไมโครเมตร ที่เกิดจากอุตสาหกรรมเหมืองบริเวณหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี
Other Titles: PM10 from mining industrial at Napralan Changwat Saraburi
Authors: สมภพ โภคพูล
Advisors: บุศราศิริ ธนะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: boossara@geo.sc.chula.ac.th
Subjects: อุตสาหกรรมเหมืองแร่ -- แง่สิ่งแวดล้อม
อุตสาหกรรมเหมืองแร่ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย
อุตสาหกรรมเหมืองแร่ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- สระบุรี
อุตสาหกรรมเหมืองแร่ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- หน้าพระลาน (สระบุรี)
อากาศ -- มลพิษ
อากาศ -- มลพิษ -- ไทย
อากาศ -- มลพิษ -- ไทย -- สระบุรี
อากาศ -- มลพิษ -- ไทย -- หน้าพระลาน (สระบุรี)
ละอองลอย
คุณภาพอากาศ
คุณภาพอากาศ -- ไทย
คุณภาพอากาศ -- ไทย -- สระบุรี
คุณภาพอากาศ -- ไทย -- หน้าพระลาน (สระบุรี)
Mineral industries -- Environmental aspects
Mineral industries -- Environmental aspects -- Thailand
Mineral industries -- Environmental aspects -- Thailand -- Saraburi
Mineral industries -- Environmental aspects -- Thailand -- Napralan (Saraburi)
Air -- Pollution
Air -- Pollution -- Thailand
Air -- Pollution -- Thailand -- Saraburi
Air -- Pollution -- Thailand -- Napralan (Saraburi)
Air -- Pollution -- Measurement
Aerosols
Air quality
Air quality -- Thailand
Air quality -- Thailand -- Saraburi
Air quality -- Thailand -- Napralan (Saraburi)
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการได้รับ ฝุ่นละอองที่ลอยในอากาศ หรือ ละอองลอย โดยละอองลอยของหินปูนหรือหินอ่อนที่มีขนาดอนุภาคเล็ก กว่าสิบไมโครเมตรหรือPM10 เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดลมอักเสบและถุงลมโป่งพอง ดังนั้น โครงงานวิทยาศาสตร์นี้ จึงประเมินคุณภาพอากาศ ณ บริเวณศึกษา (บริเวณหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี) โดยเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของ National Ambient Air Quality Standards (NAAQS) ซึ่งเป็น มาตรฐานคุณภาพอากาศที่เป็นที่ยอมรับขององค์กรสิ่งแวดล้อมทั่วโลก จัดตั้งโดยประเทศสหรัฐอเมริกา มี วัตถุประสงค์เพื่อดูแลสุขภาพของมนุษย์อันเนื่องมากจากมลภาวะทางอากาศ โดยการที่จะประเมินอากาศ บริเวณนั้นๆ ว่ามีคุณภาพดีเพียงพอต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หรือไม่ จากข้อมูล PM10 รายชั่วโมงจากสถานีหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี ของกรมควบคุมมลพิษ ระหว่างปี พ.ศ.2547 ถึง พ.ศ.2551 ได้ถูกนำมาหาปริมาณPM10รายวัน เพื่อนำมาเปรียบเทียบค่า มารตรฐาน NAAQS พบว่า ในปี พ.ศ.2547 มีจำนวนเปอร์เซ็นวันที่เกินค่ามาตรฐาน 14.75% ในปี พ.ศ. 2548 มีจำนวนเปอร์เซ็นวันที่เกินค่ามาตรฐาน 14.79% ในปี พ.ศ.2549 มีจำนวนเปอร์เซ็นวันที่เกินค่า มาตรฐาน 32.23% ในปี พ.ศ.2550 มีจำนวนเปอร์เซ็นวันที่เกินค่ามาตรฐาน 8.76% และในปี พ.ศ.2551 มี จำนวนเปอร์เซ็นวันที่เกินค่ามาตรฐาน 6.84% โดยการกระจายของละอองลอยในแต่ละวันตลอดระยะเวลาที่ศึกษา พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของความ เข้มข้นของละอองลอยในช่วงกลางคืน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากบรรยากาศมีเสถียรภาพ ทำให้ปริมาณของ ละอองลอยมีความเข้มข้นมากขึ้น ปริมาณน้ำฝนก็ส่งผลต่อการฟุ้งกระจายของละอองลอย โดยในช่วงที่เป็น ฤดูแล้ง หรือในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์ จะมีการฟุ้งกระจายของละอองลอยได้มากกว่า ฤดูฝน
Other Abstract: At the present, the number of respiratory diseases patients are increasing because dust or aerosol that suspend in the air especially PM10 (diameter of particle less than 10 micrometer). PM10 is the main effect for respiratory diseases. Goal of this research is to estimate air quality in the study area at Na pra lan Changwat Saraburi. The PM10 concentrations are compare with National Ambient Air Quality Standards (NAAQS), that established. NAAQS is applied for evaluation of human health from air pollution. The daily aerosol distributions in this study found that there are 2 peaks a day especially night time. The reason is from atmospheric stability. During nighttime the atmosphere is stable then the particle can move up to a few heights. Cause of the low boundary layer make a high volume of PM10. The PM10 hourly data were collected by “Air Pollution Control Department” during 2004- 2008. The data were calculate to daily concentration and compare with NAAQS. 14.75% in 2004, 14.79% in 2005, 32.23% in 2006, 8.76% in 2007 and 6.84% in 2008 are higher than NAAQS. Rain fall quantity effect to PM10 concentration. PM10 concentration in dry season are higher than rainy season.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55768
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sompop_FULL REPORT.PDF5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.