Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Carina Chotirawe | |
dc.contributor.author | Morakot Pan-iam | |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Arts | |
dc.date.accessioned | 2017-11-27T08:24:43Z | - |
dc.date.available | 2017-11-27T08:24:43Z | - |
dc.date.issued | 2014 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56161 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 | |
dc.description.abstract | Sex and sexuality are aspects graphically addressed in the literary writings of D. H. Lawrence (1885-1930), namely The Rainbow (1915), Women in Love (1920), “England, My England” (1922), “The Blind Man” (1922), and Lady Chatterley’s Lover (1928) with profound adjacent exploration of the social and historical contexts of the Industrial Revolution and the First World War. Arguably, these two incidents catalysed a sexual transformation in the way in which men and women engaged more openly in sexual activities of uncommon nature. While traces of modernity induced such sexual emancipation, paradoxically they also endangered human sexual competence. This thesis argues that not only do the mentioned novels and short stories encode a sense of loss and trauma from the abrupt changes of society in sexual terms, the texts also present sexual experience as an integrating and regenerating organic force countering the inexorable march of technological and industrial modernity in the early years of twentieth century, which emphasises a sudden departure from the human to the mechanical. | |
dc.description.abstractalternative | เพศสัมพันธ์และเพศวิถีเป็นประเด็นที่นำเสนออย่างเด่นชัดในวรรณกรรม ของ ดี เอช ลอว์เรนซ์ (1885-1930) ได้แก่ The Rainbow (1915) Women in Love (1920) “England, My England” (1922) “The Blind Man” (1922) และ Lady Chatterley’s Lover (1928) ภายใต้บริบททางสังคมและประวัติศาสตร์ในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมและสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งสองเหตุการณ์นี้ถือได้ว่าเป็นปัจจัยเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเพศ โดยที่ชายหญิงมีปฏิสัมพันธ์ทางเพศกันเปิดเผยมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ในขณะที่ความเป็นสมัยใหม่ก่อให้เกิดเสรีภาพทางเพศ อีกนัยหนึ่ง เหตุการณ์เหล่านั้นยังถือเป็นภัยคุกคามต่อความสามารถทางเพศของมนุษย์อีกด้วย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งชี้ให้เห็นว่า งานประพันธ์ที่กล่าวถึงข้างต้นไม่ได้เพียงพูดถึงความสูญเสียและความบอบช้ำจากการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของสังคมสมัยใหม่ภายใต้แง่มุมทางทางเพศเท่านั้น แต่ยังได้นำเสนอประสบการณ์ในเรื่องเพศว่าเป็นกำลังผลักดันทางธรรมชาติที่ส่งผลให้เกิดการรวมเป็นหนึ่งและการเกิดใหม่ ตรงกันข้ามกับวัฒนธรรมการทำลายล้างของเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรมในสังคมสมัยใหม่ที่ก้าวไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งถือเป็นยุคที่มนุษย์ละทิ้งความมีชีวิตไปสู่ความไร้ชีวิตและจิตใจ | |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | Chulalongkorn University | |
dc.rights | Chulalongkorn University | |
dc.title | SEX, SEXUALITY, AND MODERNITY IN THE LITERARY WORKS OF D. H. LAWRENCE | |
dc.title.alternative | เพศสัมพันธ์ เพศวิถี และ ความเป็นสมัยใหม่ในวรรณกรรมของดี เอช ลอว์เรนซ์ | |
dc.type | Thesis | |
dc.degree.name | Master of Arts | |
dc.degree.level | Master's Degree | |
dc.degree.discipline | English | |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | |
dc.email.advisor | Carina.C@Chula.ac.th,Carina.c@chula.ac.th | |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5580163622.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.