Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี วัฒฑกโกศล-
dc.contributor.authorเพชรี ยังประภากร-
dc.contributor.authorรักษ์พล สุระขันธ์-
dc.contributor.authorลภัสรดา จันทร์รัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2017-11-27T08:46:15Z-
dc.date.available2017-11-27T08:46:15Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56169-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อพฤติกรรม อิทธิพลของกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมความหุนหันพลันแล่น กับพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน โดยกลุ่มตัวอย่างชายรักชาย อายุระหว่าง 17-28 ปี จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดเจตคติต่อพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยทางตรงและทางอ้อม มาตรวัดการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงทางตรงและทางอ้อมมาตรวัดการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมทางตรงและทางอ้อมมาตรวัดบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมความหุนหันพลันแล่น (Barratt Impulsiveness Scale หรือ BIS-11) และมาตรวัดพฤติกรรมในการใช้ถุงยางอนามัย วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเชิงขั้น (Hierarchical Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า เจตคติต่อพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย (r =.398, p <.01) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (r =.544, p <.01) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม (r=.691, p <.01) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยตามลำดับ ส่วนบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมความหุนหันพลันแล่นไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย ตัวแปรทุกตัวร่วมกันทำนายพฤติกรรมกับพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยได้ 60.1% โดยการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมมีน้ำหนักในการทำนายพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยได้มากที่สุด (β =.517, p<.01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe present research aims to study the relationship between condom use, attitude toward behavior, subjective norms, perceived behavioral control and Impulsiveness, based on the Planned Behavioral Theory. One hundred and twenty homosexual participants, between the ages of 17 and 28 years, were recruited. The research instruments were: Attitude toward Behavior Scale, Subjective Norm Scale, Perceived Behavioral Control Scale, Barratt Impulsiveness Scale (BIS-11), and Behavioral Intention scale. This research used hierarchical regression analysis to analyze the data. As predicted, the results suggested that attitude toward behavior (r =.398, p <.01), subjective norms (r=.544, p <.01), perceived behavioral control were positively correlated with condom use (r=.691, p <.01), consecutively. On the other hand, not as predicted, impulsiveness was uncorrelated with comdom use). It also showed that 60.1% of the variance in condom use was significantly accounted for by these predictors, in which perceived behavioral control was the strongest predictor (β =.517, p <.01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเกย์en_US
dc.subjectถุงยางอนามัยen_US
dc.subjectรักร่วมเพศen_US
dc.subjectโรคเอดส์en_US
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นen_US
dc.subjectGaysen_US
dc.subjectCondomsen_US
dc.subjectHomosexualityen_US
dc.subjectAIDS (Disease)en_US
dc.subjectAdolescent psychologyen_US
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มชายรักชายผู้ใหญ่ตอนต้นen_US
dc.title.alternativeFACTOR PREDICTING INTENTION OF CONDOM USE AMONG YOUNG-ADULT MALE HOMOSEXUALSen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorRewadee.W@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phetcharee_Yo.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.