Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56325
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรัญญา ตุ้ยคำภีร์ | - |
dc.contributor.advisor | สักกพัฒน์ งามเอก | - |
dc.contributor.author | ชยาภรณ์ รุ่งวัฒนไพบูลย์ | - |
dc.contributor.author | ปณดา เหล่าธนถาวร | - |
dc.contributor.author | ศิรดา สุคนธปฏิภาค | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2017-11-27T09:07:05Z | - |
dc.date.available | 2017-11-27T09:07:05Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56325 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ฮิวริสติกในการคัดเลือกบุคลากรด้วยเทคนิคแบบพิจารณาคุณสมบัติเด่น และเทคนิคแบบพิจารณาจำนวนคุณสมบัติร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในองค์กรฝ่ายทรัพยากรมนุษย์หรือผู้บังคับชา จำนวน 103 คน ที่ถูกสุ่มเข้าเงื่อนไขการใช้ฮิวริสติกในการคัดเลือกบุคลากรแบบพิจารณาคุณสมบัติเด่น จำนวน 53 คน และแบบพิจารณาจำนวนคุณสมบัติร่วมกัน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโดยกลุ่มนิสิตผู้วิจัย ตามการศึกษาของ Hu & Wang (2014) เป็นหลัก โปรแกรมนี้ประกอบด้วย สถานการณ์สถานการณ์ เทคนิคละ 25 แบบ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างต้องตัดสินใจเลือกผู้สมัครงาน 2 คน โดยแต่ละคนมีคุณสมบัติด้านบุคลิกภาพและความสามารถที่แตกต่างกัน โดยกลุ่มตัวอย่างจะเป็นผู้ทำการตอบสถานการณ์จำลองในการคัดเลือกผู้สมัครงานด้วยตนเอง และนับว่ามีการใช้ฮิวริสติคในแต่ละแบบ เมื่อตอบถูกตั้งแต่ 20 ข้อขึ้นไป ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรในองค์กรฝ่ายทรัพยากรมนุษย์หรือผู้บังคับชา มีการใช้ฮิวริสติกในการคัดเลือกบุคลากรด้วยเทคนิคแบบพิจารณาคุณสมบัติเด่น ร้อยละ 71.7 และเทคนิคแบบพิจารณาจำนวนคุณสมบัติร่วมกันร้อยละ56ผลการวิจัยนี้ เป็นการสำรวจเบื้องต้นในวิธีการตัดสินใจในการคัดเลือกบุคลากรเลือกใช้ข้อมูลบางส่วนที่เป็นการประหยัดเวลาและทรัพยากร ซึ่งจะนำไปสู่การวิจัยต่อยอดในเรื่องการตัดสินใจคัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมกับองค์กรต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aims to examine the use of heuristics used in personnel selection with Take the Best (TTB) and Tallying (TT) techniques. Participants were 103 employees who worked in human resource department or worked as superior officers with at least 1 subordinate. They were randomly get into 2 group, 53 persons for TTB and 50 persons for TT. Instrument was a computer program with 25 scenarios for each heuristic technique. Each scenario, participants were asked to select two candidates and have to get 20 of 25 for each technique. Findings revealed that human resource employees and superior officers used heuristic in their candidate selection as of 71.7 percents for TTB and 56 percents for TT. This study was a preliminary study of decision making process in personnel selection that will fulfill an essential objective for the establishment and operation of an organization. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสรรหาบุคลากร | en_US |
dc.subject | การทำงาน -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | จิตวิทยาองค์การ | en_US |
dc.subject | Employee selection | en_US |
dc.subject | Work -- Psychological aspects | en_US |
dc.title | การใช้ฮิวริสติกในการคัดเลือกบุคลากร : เทคนิคแบบพิจารณาคุณสมบัติเด่นและ แบบพิจารณาจำนวนคุณสมบัติร่วมกัน | en_US |
dc.title.alternative | THE USE OF HEURISTICS IN PERSONAL SELECTION : TAKE THE BEST AND TALLYING TECHNIQUES | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | arunya.t@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | sakkapat.N@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chayaporn_et_al.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.