Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลินี อาชายุทธการ-
dc.contributor.authorชลาลัย วงศ์อารีย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialศรีสะเกษ-
dc.date.accessioned2018-01-03T02:51:46Z-
dc.date.available2018-01-03T02:51:46Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56657-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาของการแสดง องค์ประกอบการแสดงและวิธีการแสดงโขนขุขันธ์ โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ การสังเกตภาพถ่ายและท่ารำจากบุคคลที่เคยแสดงโขนขุขันธ์ในอดีต ผลการศึกษาพบว่า โขนขุขันธ์ เป็นการแสดงที่เกิดขึ้นในอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ประมาณปีพ.ศ. 2511 ภายใต้การนำของนายอำเภอสม ทัดศรี เพื่อส่งเข้าร่วมแสดงในงานกาชาดและงานเฉลิมฉลองปีใหม่ประจำจังหวัดศรีสะเกษ โขนขุขันธ์เป็นการผสมผสานละครนอก ลิเกและละครร้องเข้าไว้ด้วยกัน คือ มีการดำเนินเรื่องที่รวดเร็วแบบละครนอก มีการเปลี่ยนฉากชักรอกตามเนื้อเรื่องคล้ายลิเกและมีการแสดงที่เน้นความสมจริงเช่นเดียวกับละครร้อง บทที่ใช้แสดงดัดแปลงจากพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ 1 ดนตรีใช้วงปี่พาทย์อีสานใต้ การแต่งกายมีทั้งแบบยืนเครื่องและแบบประยุกต์ เวทีมีทั้งแบบยกพื้นและเวทีสนามซึ่งจะเลือกใช้ในตอนแสดงที่ต่างกัน มีการสร้างฉากตามเนื้อเรื่อง ผู้แสดงมีทั้งชายและหญิงจำนวน 80-200 คน บทพากย์และเจรจาจะใช้ฉันทลักษณ์กลอนแปด ไม่ใช้กาพย์อย่างโขน เพลงร้อยเป็นสำเนียงเขมร พม่า มอญในอัตราจังหวะชั้นเดียวและ 2 ชั้น ขั้นตอนการแสดง เริ่มด้วยปี่พาทย์โหมโรง 8 เพลงจากนั้นดำเนินเรื่องในที่นี้เป็นตอนหนุมานเผาลงกา จังตั้งแต่หนุมานทำลายสวน รบสหัสกุมาร รบอินทรชิตและเผาลงกาจึงจบการแสดง โขนขุขันธ์ ไม่ได้ทำการแสดงอีเลย หลังจากปีพ.ศ. 2515 จากปัญหาด้านบุคลากรและด้านงบประมาณ ทำให้ศิลปะการแสดงนี้สูญหายไป แต่ปัจจุบันยังมีผู้ที่เคยเกี่ยวข้องกับการแสดง โขนขุขันธ์หลงเหลืออยู่ จึงควรมีการรื้อฟื้นการแสดงโขนขุขันธ์ขึ้นอีกครั้ง เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้และสืบทอดเป็นมรดกของอำเภอขุขันธ์สืบไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at studying the history, performing elements, and play production of Kho Khu Khan masked dance company. Research methodology is based upon documents, interviewings, observation of photos, and dance demonstrated by the performers. The research finds that Khon Khu Khan was originated in Khu Khan district, Sisaket province around 1972 by a Sheriff named Som Tadsi who sent the troupe to join the provincial Red Cross and New Year fairs. The performance is a comination of Lakon Nok, Likay and Lakon Rong. The play is developed from Ramayana of King Rama 1. Northeastern music 3ensemble in used. Costume is both Khon traditional and newly designs. Stage is either a raised platform or a ground floor depend upon the requirements of each episode. Seconery is designed according to the story. Performers are both ale and female around 80-200 persons. Chanting and dialogue are based upon Klon not Kab as that of Khon. Songs in the repertoire are of Khamen, Pama and Mon airs. Performance structure as seen from the Burning Longka episode begins with music prelude then Hanuman destroys the palace garden, Hanuman fights with Ravana’s 1,000 sons and Intrajit, the crown prince of Longka. Then Hanuman burs Longka city. Khon Khu Khan ceased to perform since 1972 due to the lack of performers and budget problem. But performers of those days are still alive. There should be a revival of Khon Khu Khan as a cultural heritage for the younger generation of Khu Khan district.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1175-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโขน -- ไทย -- ขุขันธ์ (ศรีสะเกษ)en_US
dc.subjectโขน -- ไทย -- ขุขันธ์ (ศรีสะเกษ) -- ประวัติen_US
dc.subjectโขน -- องค์ประกอบen_US
dc.subjectKhon (Dance drama) -- Thailand -- Khu Khan (Sisaket)en_US
dc.subjectKhon (Dance drama) -- Thailand -- Khu Khan (Sisaket) -- Historyen_US
dc.titleโขนขุขันธ์en_US
dc.title.alternativeKhon Khu Khanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorMalinee.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1175-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chalalai_vo_front.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_ch1.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_ch2.pdf6.27 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_ch3.pdf9.98 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_ch4.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_ch5.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
chalalai_vo_back.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.