Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56801
Title: Does insider trading provide information in Thai market?
Other Titles: การซื้อขายบุคคลวงในของตลาดทุนไทยมีสารสนเทศหรือไม่?
Authors: Sunti Tirapat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of commerce and accountancy
Subjects: Insider trading in securities -- Thailand
Stock exchanges -- Thailand
Confidential business information -- Thailand
Investments -- Thailand
การซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายใน -- ไทย
ตลาดหลักทรัพย์ -- ไทย
ข้อมูลความลับทางธุรกิจ -- ไทย
การลงทุน -- ไทย
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: There is much debate in the literatures whether insider trading is driven by opportunistic or liquidity trading. The study preliminary examines the information provided by insider trading in Thai capital market using the probability of information-based trading (PIN). It focuses on extending the traditional PIN model to examine the level of information asymmetry by various types of investors in the market (local retail, local institution, foreign, and broker investors). Using the data of insider trading from the 59-2 form provided by the Thai SEC during 2002 to 2008, the preliminary analysis finds that in general there is not much change in average PINs using Easley et al. (1996) estimation before and after insider trading, both for buy and sell transactions. However, using the extended PINs it is found that for the foreign investors PINs seem to increase (decrease) after buy (sell) transactions. This suggests that they are more informed after the insider buy transaction but become less informed after the sell transactions. In addition, it is documented that the portfolio of low PIN stocks that the insider buys outperform others over the next six months. This evidence is not consistent with the opportunistic insider trading since the low PIN firms are firms with less private information and as suggested by Chung et al. (2010) that these firms are firms with better governance structure.
Other Abstract: เป็นที่ถกเถียงกันมากว่าการซื้อขายโดยบุคคลภายในที่เกี่ยวข้องกับบริษัทนั้นมาจาก เป็นการได้ประโยชน์จากการรับรู้ข้อมูล หรือเป็นเพียงการซื้อขายเพื่อปรับสภาพคล่องของคนเหล่านั้นงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นจากบุคคลภายใน โดยใช้ตัววัดที่เรียกว่า PIN (Probability of Information-board Trading) โดยปรับเพิ่มตัววัดนี้ให้สะท้อนถึงระดับความไม่เท่าเทียมของข่าวสารของนักลงทุนประเภทต่าง ๆ (นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบัน และนักลงทุนต่างประเทศ) จากข้อมูลการซื้อขายของบุคคลภายในแบบ 59-2 ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ระหว่างปี ค.ศ. 2002 ถึง ค.ศ. 2008 การวิเคราะห์เบื้องต้นพบว่าค่า PIN ก่อนปรับของ Easley และคณะ (1996) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักก่อนและหลังการซื้อขายของบุคคลภายใจ อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้ PIN ที่ปรับให้สะท้อนประเภทของนักลงทุนพบว่า PIN สำหรับนักลงทุนต่างชาติเพิ่ม (ลดลง) หลังจากการซื้อ (ขาย) ของบุคคลวงใน ซึ่งหมายความว่านักลงทุนต่างชาติมีข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น การศึกษายังพบว่าการซื้อของนักลงทุนภายในของกลุ่มหลักทรัพย์ที่มี PIN ต่ำมีผลการดำเนินการดีกว่าหุ้นที่มี PIN สูง ในอีก 6 เดือนข้างหน้า ซึ่งหลักฐานนี้ไม่สอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าบุคคลภายใช้ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลของบริษัทในการซื้อขาย เนื่องจากหุ้นที่มี PIN ต่ำเป็นหุ้นที่มีความไม่เท่าเทียมกันของข้อมูลข่าวสาร (Asymmetric Information) ต่ำและเป็นหุ้นของบริษัทที่มีธรรมาภิบาลดี โดยการศึกษาของ Chung และคณะ (2010)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56801
Type: Technical Report
Appears in Collections:Acctn - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santi_th_016738.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.