Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ สุวรรณวลัยกร-
dc.contributor.advisorสมพล สงวนรังศิริกุล-
dc.contributor.authorอภิญญา คันธา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-04T03:01:59Z-
dc.date.available2008-02-04T03:01:59Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741733062-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5752-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาผลของการออกกำลังกายระดับปานกลางหลังรับประทานอาหารเช้า ต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือด โดยศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่รักษาด้วยการรับประทานยาเม็ดลดระดับน้ำตาล จำนวนทั้งสิ้น 18 คน เป็นชาย 6 คน หญิง 12 คน อายุระหว่าง 30-60 ปี ซึ่งอาสาสมัครทุกคนจะได้รับการทดสอบทั้งหมด 3 วัน ประกอบไปด้วย 1. วันที่ออกกำลังกายในขณะอดอาหาร 2. วันที่รับประทานอาหารทดสอบเท่านั้น และ 3. วันที่ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหาร ด้วยวิธีการสุ่ม โดยแต่ละการทดสอบห่างกัน 1 สัปดาห์ ซึ่งการศึกษานี้จะเก็บตัวอย่างเลือดทุกๆ 15 นาที ก่อนและหลังรับประทานอาหารทดสอบ รวมเป็นเวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง ผลรวมพื้นที่ใต้กราฟของระดับน้ำตาลในเลือด ในวันที่ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหาร มีค่าน้อยกว่าวันที่รับประทานอาหารทดสอบเท่านั้น แต่พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รวมทั้งเวลาที่ระดับน้ำตาลขึ้นสูงสุดในเลือด ในวันที่ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหาร จะใช้เวลานานกว่าวันที่รับประทานอาหารทดสอบเท่านั้น แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผลการศึกษานี้พบว่าการออกกำลังกายในระดับปานกลาง หลังรับประทานอาหารเช้าเป็นเวลา 30 นาที มีผลต่อการลดระดับน้ำตาลเพียงเล็กน้อย ซึ่งการลดลงของระดับน้ำตาลนี้เป็นผลจาก การใช้พลังงานจากน้ำตาลที่เพิ่มขึ้นในระหว่างการออกกำลังกายen
dc.description.abstractalternativeTo evaluate the glucodynamic effect of moderate intensity aerobic exercise after a standard meal, in type 2 diabetics. Eighteen type 2 diabetic volunteers (6 males, 12 females), 30-60 years old. Subjects were assigned to perform one of three interventions consecutively in a random order: 1) exercise for 30 minutes during fasting, 2) exercise for 30 minutes after having a standard meal (exercise day), and 3) having a standard meal without exercise (control day). Each intervention was separated by 1 week apart. Blood samples were drawn for plasma glucose determination every 15 minutes before and after the meal for 3 consecutive hours. Area under the curves of plasma glucose profiles was lower in the postmeal exercise day than in the postmeal control day and time to peak was increase in the postmeal exercise day more than in the postmeal control day but not statistically difference. This results demonstrated that moderate intensity aerobic exercise after the meal did not change the post meal glucodynamic of type 2 diabetics. A brief reduction of plasma glucose during exercise may be the effect of glucose utilization by the muscle or delayed gastrointestinal carbohydrate absorption during exercise.en
dc.format.extent7191682 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเบาหวานen
dc.subjectน้ำตาลในเลือดen
dc.subjectการออกกำลังกายen
dc.subjectกายบริหารen
dc.titleผลของการออกกำลังกายภายหลังจากรับประทานอาหาร ต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองen
dc.title.alternativeThe effect of post-meal exercise on postprandial glucodynamic in type 2 diabeticsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuwansp@yahoo.com-
dc.email.advisorSompol.S@Chula.ac.th, fmedssk@md2.md.chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apinya.pdf7.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.