Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี วัฒฑกโกศล-
dc.contributor.authorดุษฎี บุญฤทธิ์ธัญกุล-
dc.contributor.authorพักตร์พิไล ศิลาคะจิ-
dc.contributor.authorศุภาพิชญ์ แก้ววัชระรังษี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-03-20T09:30:34Z-
dc.date.available2018-03-20T09:30:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57871-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยในการทำนายพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของกลุ่มชายวัยทำงาน จากแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Beliefs Model; Rosenstock, 1974) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เพศชาย วัยทำงาน อายุระหว่าง 25-59 ปี ที่อาศัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 175 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การถดถอยพหุคูณแบบปกติ (Enter Multiple Regression) ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ประโยชน์ของการเลิกสูบบุหรี่ และการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกสูบบุหรี่ สามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจที่จะเลิกสูบบุหรี่ได้ร้อยละ 15.5 (p<.001) โดยการรับรู้ความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (β =.297) การรับรู้ประโยชน์ของการเลิกสูบบุหรี่ (β =.251) และการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกสูบบุหรี่ (β =.172) มีอิทธิพลในการทำนายความตั้งใจที่จะเลิกสูบบุหรี่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนการรับรู้โอกาสเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจากการสูบบุหรี่ไม่มีอิทธิพลในการทำนายความตั้งใจที่จะเลิกสูบบุหรี่en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study factors predicting smoking cessation among working class males. Participants were 175 working class males who live in Bangkok, Thailand. Data was analyzed by Enter Multiple Regression. This research was based on the theory of Health Beliefs Model; Rosenstock, (1974). This research found that Perceived severity, Perceived susceptibility, Perceived benefits, and Self-efficacy significantly predicted Intention to quit smoking (R^2= 15.5, p<.001). Perceived severity (β =.297), Perceived benefits (β =.251), and Self-efficacy (β =.172) had significant standardized coefficient at .01 level. Perceived susceptibility did not significantly predict Intention to quit smoking.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเลิกบุหรี่en_US
dc.subjectการเลิกบุหรี่ -- พยากรณ์en_US
dc.subjectการเลิกนิสัยen_US
dc.subjectการเลิกนิสัย -- พยากรณ์en_US
dc.subjectSmoking cessationen_US
dc.subjectSmoking cessation -- Forecastingen_US
dc.subjectHabit breakingen_US
dc.subjectHabit breaking -- Forecastingen_US
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของกลุ่มชายวัยทำงานen_US
dc.title.alternativeFactors predicting smoking cessation among working class malesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorwrewadee@yahoo.com-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
dusadee_bo.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.