Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหยกฟ้า อิศรานนท์-
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ พงษ์ชู-
dc.contributor.authorณัฐวิชญ์ ผิวลออ-
dc.contributor.authorศิรประภา แสนเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-03-21T02:55:48Z-
dc.date.available2018-03-21T02:55:48Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57877-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์, บุคลิกภาพแบบเข้าสังคม และการเห็นคุณค่าในตนเอง ต่อการทำพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังต้องการทดสอบอิทธิพลส่งผ่านและอิทธิพลกำกับของการเห็นคุณค่าในตนเองต่อพฤติกรรมดังกล่าวด้วย โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคคลทั่วไป ที่มีอายุระหว่าง 18-25 ปี จำนวน 337 คน แบ่งเป็นเพศหญิง 271 คน เพศชาย 60คน และเพศอื่น ๆ 6 คน ผลการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการถดถอยพหุคูณ พบว่า การเห็นคุณค่าในตนเองมีสหสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด แต่บุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์ มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด ทั้งนี้ ไม่พบอิทธิพลส่งผ่านของการเห็นคุณค่าในตนเองต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์ และพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด เช่นเดียวกับไม่พบอิทธิพลกำกับของการเห็นคุณค่าในตนเองต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบเข้าสังคมและพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด คำสำคัญ: พฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ด (Internet trolling), การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem), บุคลิกภาพแบบเข้าสังคม (Extraversion), บุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์ (Neuroticism)en_US
dc.description.abstractalternativeThis research examined the influence of neuroticism and extraversion, and self-esteem on Internet trolling. In addition, the mediating and moderating effects of self-esteem were also investigated. Three hundred and thirty -seven participants whose age are between 18 – 25 years old, 60 males and 271 females and 6 others completed measures of self-report self-esteem, five factors personality and internet trolling. Multiple regression analysis was used to test the research hypotheses. As expected, results showed that self-esteem was negatively correlated with Internet trolling, but neuroticism was positively correlated with Internet trolling. However, self-esteem did not mediate the relationship between neuroticism and Internet trolling nor moderate the relationship between extraversion and Internet trolling. Implications and future directions were discussed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการก่อกวนออนไลน์en_US
dc.subjectการก่อกวนออนไลน์ -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectOnline trollingen_US
dc.subjectOnline trolling -- Psychological aspectsen_US
dc.titleอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์, บุคลิกภาพแบบเข้าสังคม, และการเห็นคุณค่าในตนเอง ต่อพฤติกรรมนักเลงคีย์บอร์ดen_US
dc.title.alternativeInfluence of neuroticism, extraversion, and self-esteem on internet trollingen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisoryokfah.i@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jutarat_po.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.