Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัญญู กองชัยมงคล-
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์-
dc.contributor.authorภัสธารีย์ พลไพโรจน์-
dc.contributor.authorกันตวรรณ คงแป้น-
dc.contributor.authorสิริมนัส พะชะนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-03-21T06:51:37Z-
dc.date.available2018-03-21T06:51:37Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57884-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวล ความเมตตากรุณาต่อตนเอง และการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทุกชั้นปี ทั้ง 18 คณะ และ 1 สำนักวิชา จำนวน 128 คน ใช้เครื่องมือวัดในการวิจัย 4 ฉบับ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง แบบวัดความวิตกกังวลที่เป็นลักษณะประจำตัว แบบวัดความเมตตากรุณาต่อตนเอง แบบวัดการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยวิธีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิธีการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ ผลการวิจัยพบว่าความเมตตากรุณาต่อตนเองและการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน มีความสัมพันธ์ทางลบกับความวิตกกังวล และ ความเมตตากรุณาต่อตนเองและการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนร่วมกันทำนายความวิตกกังวลได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ กล่าวคือ 1. ความเมตตากรุณาต่อตนเองมีความสัมพันธ์ความวิตกกังวลในทิศทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 [r = -.818, p < .01] 2. การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนมีความสัมพันธ์ความวิตกกังวลในทิศทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 [r = -.538, p < .01] 3. ความเมตตากรุณาต่อตนเองและการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน ร่วมกันทำนายความวิตกกังวลได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้ร้อยละ 68.6 [R2 = .686, p < .001]en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research study was to examine the relations among anxiety, self-compassion, and personal growth initiative. Participants were 128 undergraduates from Chulalongkorn University, 18 faculties and 1 school. The participants responded to a set of questionnaires measuring demographic data, personal growth initiative, self-compassion, and anxiety. Pearson’s product moment correlation coefficient and Multiple Regression Analysis were used to analyses the data. Findings were as follows: 1)Self-compassion was significantly and negatively correlated with anxiety [r = -.818, p < .01] 2)Personal growth initiative was significantly and negatively correlated with anxiety [r = -.538, p < .01] 3) When examined together, self-compassion, and personal growth initiative significantly predicted anxiety and accounted for 68.6% of its variance [R2 = .686, p < .001]en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectความสงสาร -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectความตระหนักในศักยภาพตนen_US
dc.subjectAnxietyen_US
dc.subjectCompassion -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectSelf-actualization (Psychology)en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวล ความเมตตากรุณาต่อตนเอง และการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนen_US
dc.title.alternativeRelations among anxiety, self-compassion, and personal growth initiative Senior project advisoren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisortnattasuda@gmail.com-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattaree_ph.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.