Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57931
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิปัทม์ พิชญโยธิน | - |
dc.contributor.author | วรนิษฐ์ ธรรมเสรีศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | จิรพัฒน์ เกตุหิรัญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2018-03-26T03:55:33Z | - |
dc.date.available | 2018-03-26T03:55:33Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57931 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยกับสุขภาวะทางจิต เพื่อศึกษาว่ากิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทกิจกรรมมีความสัมพันธ์ต่อสุขภาวะทางจิตและองค์ประกอบสุขภาวะทางจิตในแต่ละด้านของผู้สูงวัยอย่างไร ทำการวิจัยโดยการเก็บข้อมูลจากผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้น จำนวน 229 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการใช้งานอินเทอร์เน็ต แบบสอบถามกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต และแบบสอบถามสุขภาวะทางจิต ซึ่งทางกลุ่มผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลด้วยการใช้แบบสอบถามกระดาษ และแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัย คือ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson correlation) และการถดถอยเชิงพหุคูณ (multiple regression) ผลงานวิจัยพบว่า กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะทางจิตแบบจำแนกองค์ประกอบ และสุขภาวะทางจิตโดยรวมของผู้สูงวัย ดังนี้ กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาวะทางจิตด้านความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในผู้สูงวัย (β = .227, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในด้านความบันเทิงมีความสัมพันธ์ทางลบกับสุขภาวะทางจิตด้านการมีความงอกงามในผู้สูงวัย (β = -.191, p < .05) ด้านการมีจุดมุ่งหมายในชีวิตในผู้สูงวัย (β = -.283, p < .05) และสุขภาวะทางจิตโดยรวมในผู้สูงวัย (β = -.163, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการหาข้อมูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาวะทางจิตด้านความเป็นตัวของตัวเองในผู้สูงวัย (β = .230, p < .05) ด้านการมีความงอกงามในตน (β = .281, p < .05) ด้านการมีจุดมุ่งหมายในชีวิตในผู้สูงวัย (β = .292, p < .05) และสุขภาวะทางจิตโดยรวมในผู้สูงวัย (β = .190 , p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในด้านการทำความรู้จักกับคนใหม่ ๆ มีความสัมพันธ์ทางลบกับสุขภาวะทางจิตด้านการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นในผู้สูงวัย (β = -.229, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine the relation between internet activities in older adults and psychological well-being. Participants were 229 older adults (above 50 years old). Using questionnaires, consisted of personal data of participant, internet use profile of participant, and psychological well-being. Researchers collected the data using online questionnaires and paper questionnaires. The results indicated that internet activities were significantly correlated with some dimensions of psychological well-being and global psychological well-being, as in the followings; Using internet for communication was positively and significantly related with environmental mastery (β = .227, p < .05). Using internet for entertainment was negative and significantly related with personal growth (β = -.191, p < .05), purpose in life (β = -.283, p < .05) and global psychological well-being (β =-.163, p < .05). Using internet for finding information was positively and significantly related with autonomy (β = .230, p < .05), personal growth (β = .281, p < .05), purpose in life (β = .292, p < .05) and global psychological well-being (β = .190, p < .05). And using internet for finding new people was negatively and significantly related with positive relations with others (β = -.229, p < .05). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | อินเทอร์เน็ต -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | อินเทอร์เน็ตกับผู้สูงอายุ -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | Internet users -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Internet -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Internet and older people -- Psychological aspects | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ของกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและสุขภาวะทางจิตในผู้สูงวัย | en_US |
dc.title.alternative | Relation among internet activities and older adults’ psychological well-being | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Npichaya.bock@gmail.com | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
worranit_th.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.