Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorวิวัฒน์ สุวัณณะสังข์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-03-29T09:01:57Z-
dc.date.available2018-03-29T09:01:57Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57948-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractองค์การสหประชาชาติโดยสมัชชาทั่วไปมอบหมายให้คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ ดำเนินการร่างอนุสัญญาว่าด้วยการลดความไร้สัญชาติ ค.ศ. 1961 เพื่อลดปัญหาการไร้สัญชาติด้วยการวางกฎเกณฑ์ในการให้สัญชาติโดยการเกิด และลดการไร้สัญชาติจากการเสียสัญชาติ กำหนดให้รัฐภาคีต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษากฎเกณฑ์การลดความไร้สัญชาติที่กำหนดไว้ในอนุสัญญาว่าด้วยการลดความไร้สัญชาติ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการลดความไร้สัญชาติในประเทศไทยด้วยการปรับปรุง แก้ไขกฎหมายสัญชาติของไทย และประโยชน์ของประเทศไทยในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฉบับนี้ ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายสัญชาติของไทยฉบับปัจจุบัน มีหลักเกณฑ์การให้สัญชาติโดยการเกิดตามหลักสายโลหิต ซึ่งจะช่วยลดความไร้สัญชาติได้ดีกว่าที่กำหนดไว้ในอนุสัญญาฯ ส่วนหลักเกณฑ์การให้สัญชาติโดยการเกิดตามหลักดินแดนที่กำหนดไว้ในอนุสัญญาฯ จะช่วยลดความไร้สัญชาติได้ดีกว่ากฎหมายสัญชาติของไทย ที่เป็นเช่นนี้เพราะกฎหมายสัญชาติของไทยมิได้แยกความหมาย “คนไร้สัญชาติ” ต่างหากจาก “คนต่างด้าว” แต้กลับกำหนดความหมาย “คนไร้สัญชาติ” รวมไปกับ “คนต่างด้าว”ทำให้ไม่เห็นความสำคัญของปัญหาการไร้สัญชาติ และอนุสัญญายังมีหลักเกณฑ์ในการให้สัญชาติแก่เด็กกำพร้า ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับสถานที่ที่ให้ถือว่าเป็นราชอาณาจักรไทย ที่เป็นประโยชน์ต่อการให้สัญชาติโดยการเกิดตามหลักดินแดน รวมทั้งหลักเกณฑ์การลดความไร้สัญชาติจากการเสียสัญชาติ อย่างไรก็ดีการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด และหลักเกณฑ์การลดความไร้สัญชาติจากการเสียสัญชาติ เป็นภาระแก่ประเทศไทยมาก จึงเห็นสมควรให้นำหลักเกณฑ์ในอนุสัญญาฯ มาใช้โดยไม่เข้าเป็นภาคี ด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายสัญชาติของไทย เพื่อลดความไร้สัญชาติในประเทศไทยให้เหมาะสมและประสิทธิภาพในทางปฏิบัติen_US
dc.description.abstractalternativeUN General Assembly addressed the problem of statelessness and mandated International Law Commission to draft Convention on the Reduction of Statelessness 1961 to reduce statelessness by conferring nationality on birth and reducing statelessness from losing nationality. The Convention is binding on the states that have ratified or acceded to it. This thesis focuses its study on principles of reduction of statelessness in Reduction Convention, propose to reduce statelessness in Thailand by improvement or amendment Thai Nationality Law and interest of Thailand if accession to the Convention. The study indicates that the rule of nationality by birth “jus sanguinis” in current Thai Nationality Law is better than in the Convention, but the rule of “jus soli” in the Convention reduces statelessness more than Thai Nationality Law because Thai Nationality Law does not exclude the meaning of “stateless” from “alien”, on the other hand including the meaning of them that causes regardless the importance of statelessness problem. The convention also assigns nationality to foundlings, presumption the places deemed the Kingdom of Thailand for purpose of giving nationality by birth “jus soli” and rules to reduce statelessness of loss nationality. However, accession to the convention must carry out the rule, particularly the rules reducing statelessness of loss nationality are too responsible for Thailand. It suits to apply the rules in the convention but not to accede, by improvement and amendment Thai Nationality Law to be more appropriate and efficient in practice.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.249-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสัญชาติ -- ไทยen_US
dc.subjectคนไร้สัญชาติ -- ไทยen_US
dc.subjectอนุสัญญาว่าด้วยการลดความไร้สัญชาติ ค.ศ.1961en_US
dc.subjectCitizenship -- Thailanden_US
dc.subjectStatelessness -- Thailanden_US
dc.titleอนุสัญญาว่าด้วยการลดความไร้สัญชาติ ค.ศ.1961 : การลดความไร้สัญชาติในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeConvention on the reduction of statelessness 1961 : reduction of statelessness in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChumphorn.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.249-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wiwat_su_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_ch1.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_ch2.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_ch3.pdf6.16 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_ch4.pdf11.65 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_ch5.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
wiwat_su_back.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.