Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ-
dc.contributor.authorประคอง คำนวนดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:37:43Z-
dc.date.available2018-04-11T01:37:43Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58337-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตธนบัตรโดยการลดของเสียหลัก 2 ชนิดคือ หมึกส่วนเกิน และการเกิดซับหลัง โดยเริ่มศึกษาจากกระบวนการผลิตหมึกพิมพ์ และกระบวนการพิมพ์เส้นนูนในสภาพปัจจุบันแล้วทำการค้นหาสาเหตุที่สำคัญที่จะทำให้เกิดข้อบกพร่องขึ้น สำหรับการวิเคราะห์นี้ได้ประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบด้านกระบวนการ (Failure Mode and Effect Analysis : FMEA) ในการหาสาเหตุของข้อบกพร่อง โดยให้ผู้เชี่ยวชาญของแต่ละแผนกทำการวิเคราะห์และประเมินเพื่อคำนวณค่าลำดับคะแนนความเสี่ยง (Risk Priority Number : RPN) เพื่อจัดอันดับความสำคัญสำหรับการคัดเลือกกระบวนการผลิตที่ต้องปรับปรุง ในการวิจัยจะเลือกการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่มีค่าลำดับคะแนนความเสี่ยงมากว่า 60 ขึ้นไป โดยภายหลังจากการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยนำเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการมาใช้ พบว่าสามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตได้ดีขึ้นหมึกส่วนเกินของเสียลดลงจากเดิม 77% และการเกิดซับหลังลดลงจากเดิม 59%-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to improve the production of banknotes by reducing the 2 main defects of wiping and set-off starting from printing processes. Inks and Intaglio printing processes have been studying firstly in order to find the key elements that will increase the defective. For this analysis, uses of fault analysis and impact process (Failure Mode and Effect Analysis: FMEA) is employed to find the cause of defect by the experts of each department. The Risk Priority Number (RPN) has been calculated to rank the priority of the process improvement. The production process which the value of risk guidance over 60 or more will be improved by using industrial engineering tool. It is found that the proposed technique can help to improve the production processes. The percentage of defect is reduced about 77% in wiping process and the 59% in set-off process.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1431-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectธนบัตร-
dc.subjectอุตสาหกรรมการพิมพ์ -- การลดปริมาณของเสีย-
dc.subjectBank notes-
dc.subjectPrinting industry -- Waste minimization-
dc.titleการลดของเสียในการพิมพ์ธนบัตร-
dc.title.alternativeReduction of defect in banknote printing process-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSomkiat.Ta@Chula.ac.th,Somkiat.t@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1431-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5870944021.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.