Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58877
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดำรงค์ วัฒนา | - |
dc.contributor.author | ดุสดีภา การบุญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคใต้) | - |
dc.coverage.spatial | ภูเก็ต | - |
dc.coverage.spatial | กระบี่ | - |
dc.coverage.spatial | พังงา | - |
dc.date.accessioned | 2018-05-26T08:27:57Z | - |
dc.date.available | 2018-05-26T08:27:57Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58877 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื้นที่ของกลุ่มจังหวัดอันดามันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกอย่างยั่งยืน และวิเคราะห์ระบบคุณภาพการบริหารจัดการขององค์กรเพื่อให้ยุทธศาสตร์ประสบความสำเร็จ โดยข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการยุทธศาสตร์ จำนวน 9 คน และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ทำแบบสอบถาม โดยได้ใช้แบบสอบถามในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน และนำผลจากการวิเคราะห์มาใช้เป็นหลักในการกำหนดยุทธศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มจังหวัดอันดามันมีระบบการบริหารจัดการขององค์กรตามหลักการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ส่วนสถานภาพของกลุ่มจังหวัดอันดามันอยู่ในตำแหน่งโน้มเอียงไปทาง “มีภัยคุกคามแต่มีจุดแข็ง” เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ที่เป็นภัยคุกคาม มากกว่า โอกาส ในขณะที่ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในมีลักษณะเป็นจุดแข็ง มากกว่า จุดอ่อน ซึ่งการที่จะนำกลุ่มจังหวัดอันดามันให้มีความได้เปรียบและพร้อมในการแข่งขันมากยิ่งขึ้น ต้องพยายามลดจุดอ่อนและภัยคุกคาม โดยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส และควรมุ่งให้ความพยายามในการใช้จุดแข็งมาช้อนโอกาสในการดำเนินงานให้ก้าวหน้าและสัมฤทธิผล ทั้งนี้เพื่อให้กลุ่มจังหวัดอันดามันก้าวไปสู่ตำแหน่งใหม่ที่มีเสถียรภาพมั่นคงภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการนำมาพัฒนาพื้นที่กลุ่มจังหวัดอันดามันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกอย่างยั่งยืนคือ ยุทธศาสตร์เชิงปรับเปลี่ยน พร้อมผสมผสานกับยุทธศาสตร์เชิงรุก ยุทธศาสตร์เชิงแก้ปัญหา และยุทธศาสตร์เชิงควบคุม | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research employs both quantitative and qualitative methods, aiming to analyze strategically the sustainable development of tourism in the provinces along the Andaman Coastal Area toward a world class destination. It contains an analysis on management quality. Data were drawn from in-depth interviews with strategic tourism experts and questionnaire were employed to survey stakeholders in the provinces along the Andaman Coastal Area. Statistical methods used in this study include percentage, T-test and One-Way ANOVA analysis. The findings reveal that the provinces along the Andaman Coastal Area have adopted and adapted New Public Administration management methods. Their strategic positions are specified as "Threats and Strength" domination. Effects of the external environment show more threats than opportunities while the internal environment reveals more strengths than weaknesses. The areas have more competitive advantages when the weaknesses and threats are properly managed. In other words, exploitation of opportunities in exchange with coping with threats is the Area’s challenges. In the same manner, strengths are strategic issues for manipulation of detailed operational plans. As a result, the Area would gain a new advantageous position towards a stable environment established under global changing environment. Therefore, the appropriately strategic direction in the development Area is able to compete globally toward sustainable tourism. At the end, the Area is expected to achieve strategic adjustments combined with an aggressive strategies, spatial problem-solving strategy and controlled growth development strategy. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1101 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- แง่ยุทธศาสตร์ -- ไทย -- กระบี่ | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- แง่ยุทธศาสตร์ -- ไทย -- พังงา | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- แง่ยุทธศาสตร์ -- ไทย -- ภูเก็ต | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- แง่ยุทธศาสตร์ -- ไทย (ภาคใต้) | en_US |
dc.subject | Tourism -- Strategic aspects -- Thailand -- Krabi | en_US |
dc.subject | Tourism -- Strategic aspects -- Thailand -- Phangnga | en_US |
dc.subject | Tourism -- Strategic aspects -- Thailand -- Phuket | en_US |
dc.subject | Tourism -- Strategic aspects -- Thailand, Southern | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของพื้นที่กลุ่มจังหวัดอันดามัน (ภูเก็ต กระบี่ และพังงา) | en_US |
dc.title.alternative | Strategic analysis applied to tourism of the provinces along the Andaman Coastal Area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Damrong.W@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.1101 | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dutsadeepha Karnboon.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.