Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทิกา ทวิชาชาติ-
dc.contributor.authorสุชีราพันธ์ ศรีสินทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2018-05-26T10:28:51Z-
dc.date.available2018-05-26T10:28:51Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58897-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ด้านรูปร่างและความสัมพันธ์ กับความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ของนักเรียนมัธยมปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,297 คน จากนักเรียน 12 โรงเรียน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดภาพลักษณ์ด้านรูปร่าง และแบบวัดความภาคภูมิใจในตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independence t-test, One-way ANOVA, Scheff's method และ Multiple linear regression analysis ผลการศึกษาพบว่า คะแนนความรุ้สึกภาคภูมิใจในตนเองของกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.21 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6.93 พบว่ามีนักเรียน 68.1% ที่มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองในระดับพอใจปานกลาง ปัจจัยที่มีผลส่งเสริมคะแนนความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P<0.05 ได้แก่ สมาชิกในครอบครัวไม่มีน้ำหนักเกิน มารดามีอาชีพธุรกิจส่วนตัว แผนการเรียนภาษาญี่ปุ่นและจีน ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนแบบสนิทสนมกันดี โรงเรียนหญิงล้วน ผลการเรียน 2.00-2.99 รายได้ของครอบครัวมากกว่า 30,000 บาท ส่วนปัจจัยที่มีผลทำให้คะแนนความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P>0.05 ได้แก่ การมีโรค การควบคุมน้ำหนัก ผู้ที่อยู่อาศัยกับคนรู้จัก บิดามารดาแยกกันอยู่ บิดาอาชีพข้าราชการ น้ำหนักมาตรฐานแบบผอม การเกิดเป็นลำดับที่ 3 ภูมิลำเนากรุงเทพฯ ผลการศึกษาเกี่ยวกับภาพลักษณ์ด้านรูปร่างพบว่า คะแนนความพอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่างของกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.04 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.81 พบว่ามีนิสิต 66% ที่มีความพอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่างระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีผลส่งเสริมคะแนนความพอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P<0.05 ได้แก่ สมาชิกในครอบครัวไม่มีน้ำหนักเกิน ไม่ควบคุมน้ำหนัก บิดาอาชีพพ่อบ้าน มารดาอาชีพรับราชการ น้ำหนักมาตรฐานแบบผอม แผนการเรียนภาษาญี่ปุ่นและจีน โรงเรียนชายล้วน ผลการเรียน 2.00-2.49, 2.50-2.99 รายได้ของครอบครัวระดับปานกลาง น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก. ส่วนปัจจัยที่มีผลทำให้คะแนนความพอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่างลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P>0.05 ได้แก่ การมีโรค อาศัยอยู่กับคนรู้จัก สถานภาพครอบครัวแบบหย่าร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนแบบทะเลาะกันประจำ การเกิดเป็นลำดับที่ 2 ภูมิลำเนาปริมณฑล และพบว่ามีความสัมพันธ์กันระหว่างความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง กับความพอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่างที่ระดับ P<0.01 นั่นคือ นักเรียนที่มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองที่ดีขึ้น จะทำให้พอใจในภาพลักษณ์ด้านรูปร่างสูงขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeTo study about associated factory of body image and relation to self-esteem among in upper secondary school students under the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education in Bangkok Metropolis. The subject were 1,297 students from 12 upper secondary schools. The studied subjects were enrolled by strategy sampling technique. Research instruments were self-reported questionnaire to collect demographic data, body shape questionnaire and Coopersmith self-esteem inventory : CSEI. Data was analyzed by using SPSS software for the percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA, Scheffe's method and multiple linear regression analysis. The results showed mean and SD regarding the self-esteem score was 32.21 and 6.93 respectively. 68.1% of the group was defined well self-esteem. Factors contributing to a healthy self-esteem with the significant at P<0.05 were no having overweight of family members, private business of mother occupation, Japanese and Chinese program, good peer relationship, girl school, 2.00-2.99 grade point average, family's income over 30,000 bath. Factors associated with decreased self esteem were personal illness, thinking of weight control, being with other people, separated parent, government officer of father occupation, thin of BMI, the third of birth, born in BKK. Mean score and SD regarding the satisfaction of body image score were 2.04 and 0.81 respectively. 66% of the group showed well satisfaction of body image. Factors associated with increased satisfaction of body image were no having overweight of family members, no thinking of weight control, head of household father's occupation, government officer of mother occupation, thin of BMI, Japanese and Chinese program, boy school, 2.00-2.49 and 2.50-2.99 grade point average, medium of family's income, lower 40 kg of weight. Factors associated with decreased satisfaction of body image were personal illness, being with other people, separated parent, bad peer relationship, the second of birth, born in boundary. High self esteem can predict good satisfaction of body image.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความนับถือตนเองen_US
dc.subjectความนับถือตนเองในวัยรุ่นen_US
dc.subjectภาพลักษณ์ร่างกายen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- สุขภาพจิตen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectSelf-esteemen_US
dc.subjectSelf-esteem in adolescenceen_US
dc.subjectBody imageen_US
dc.subjectHigh school students -- Mental healthen_US
dc.subjectHigh school students -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ด้านรูปร่างและความสัมพันธ์กับความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ของนักเรียนมัธยมปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeAssociated factors of body image and relation to self-esteem among in upper secondary school students under the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfmednta@md2.md.chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sucheeraphun_sr_front.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_ch1.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_ch2.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_ch3.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_ch4.pdf4.89 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_ch5.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
sucheeraphun_sr_back.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.