Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58902
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร | - |
dc.contributor.author | อดิศร ทองรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2018-05-26T13:01:52Z | - |
dc.date.available | 2018-05-26T13:01:52Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58902 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับอคติของวัยรุ่นต่อบุคคลรักเพศเดียวกันชายและหญิง กลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นอายุ 18-20 ปี ตัวแปรอิสระที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย บทบาททางเพศ บุคลิกภาพแบบอำนาจนิยม การรับรู้ความกดดันของเพื่อน ตัวแบบในครอบครัว ตัวแบบในสังคม เพศ ภูมิลำเนา การมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลรักเพศเดียวกัน และระดับการศึกษา ตัวแปรตามคือ อคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบทบาททางเพศ แบบทดสอบบุคคลลิกภาพแบบอำนาจนิยม แบบทดสอบอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ด้วยวิธีการแบบขั้นตอน (Stepwise) เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่ทำนายอคติของวัยรุ่นต่อชายรักเพศเดียวกัน ได้แก่ บุคลิภาพแบบอำนาจนิยม (Beta = .507) ตัวแบบในสังคมเป็นบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.175) เพศหญิง (Beta = -.173) ตัวแบบพ่อแม่ไม่มีอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.124) การรับรู้ความกดดันของเพื่อน (Beta = .111) และบทบาททางเพศหญิง (Beta = -.108) และมีอำนาจในการทำนายอคติของวัยรุ่นต่อชายรักเพศเดียวกัน 51.8% 2. ปัจจัยที่ทำนายอคติของวัยรุ่นต่อหญิงรักเพศเดียวกัน ได้แก่ บุคลิกภาพแบบอำนาจนิยม (Beta = .561) ระดับปริญญาตรี (Beta = -.150) ตัวแบบพ่อแม่ไม่มีอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.140) ตัวแบบในสังคมเป็นบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.136) บทบาททางเพศ (บทบาททางเพศไม่ชัดเจน Beta = .122, บทบาททางเพศหญิง Beta = -.099) และเพศหญิง (Beta = -.098) และมีอำนาจในการทำนายอคติของวัยรุ่นต่อหญิงรักเพศเดียวกัน 56.1% 3. ปัจจัยที่ทำนายอคติของวัยรุ่นต่อชายรักเพศเดียวกันที่เป็นสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ บุคลิกภาพแบบอำนาจนิยม (Beta = .462) เพศหญิง (Beta = -.194) บทบาททางเพศหญิง (Beta = -.166) ตัวแบบพ่อแม่ไม่มีอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.151ตัวแบบในสังคมเป็นบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.138) การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.115) และภูมิลำเนากรุงเทพมหานคร (Beta = -.109) และมีอำนาจในการทำนายอคติของวัยรุ่นต่อชายรักเพศเดียวกันที่เป็นสมาชิกในครอบครัว 44.8% 4. ปัจจัยที่ทำนายอคติของวัยรุ่นต่อหญิงรักเพศเดียวกันที่เป็นสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ บุคลิกภาพแบบอำนาจนิยม (Beta = .572) บทบาททางเพศหญิง (Beta = -.143) ตัวแบบในสังคมเป็นบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.142) ตัวแบบพ่อแม่ไม่มีอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกัน (Beta = -.136) และเพศหญิง (Beta = -.131) และมีอำนาจในการทำนายอคติของวัยรุ่นต่อหญิงรักเพศเดียวกันที่เป็นสมาชิกในครอบครัว 51.6% | en_US |
dc.description.abstractalternative | To study factors related to predicting adolescents’ prejudice toward gays and lesbians. Samples consisted of 300 adolescents aged 18 to 20. Independent variables in this study were sex role, authoritarian personality, peer pressure, parental model, social model, sex, birth place, interaction with gays and lesbians, and educational level. Dependent variable was a prejudice toward gays and lesbians. Research instruments used for data collection were Personal Data Questionnaire, Sex Role Questionnaire, Authoritarian Personality Test, and Prejudice toward Gays and Lesbians Test. And data were analyzed by Stepwise Multiple Regression Analysis technique. Results of this research are as follows: 1. Factors predicting adolescents’ prejudice toward gays are authoritarian personality (Beta = .507), social model (Beta = -.175), gender (female: Beta = -.173), family model (no parents’ prejudice: Beta = -.124), peer pressure (Beta = .111) and sex role (feminine: Beta = -.108). And the power of predicting adolescents’ prejudice toward gays is 69.0. 2. Factors predicting adolescents’ prejudice toward lesbians are authoritarian personality (Beta = .561), educational level (bachelor degree: Beta = -.150), family model (no parents’ prejudice: Beta = -.140), social model (Beta = -.136), sex role (undifferentiated: Beta = .122; feminine: Beta = -.099) and gender (female: Beta = -.098). And the power of predicting adolescents’ prejudice toward lesbians is 56.1. 3. Factors predicting adolescents’ prejudice toward gays (a member of their own family) are authoritarian personality (Beta = .462), gender (female: Beta = -.194), sex role (feminine: Beta = -.166), family model (no parents’ prejudice: Beta = -.151), social model (Beta = -.138), interaction with gay persons (Beta = -.115) and birth place (BKK: Beta = -.109). And the power of predicting adolescents’ prejudice toward gays (a member of their own family) is 44.8. 4. Factors predicting adolescents’ prejudice toward lesbians (a member of their own family) are authoritarian personality (Beta = .572), sex role (feminine: Beta = -.143), social model (Beta = -.142), family model (no parents’ prejudice: Beta = -.136) and gender (female: Beta = -.131). And the power of predicting adolescents’ prejudice toward lesbians (a member of their own family) is 51.6. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1177 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อคติ (จิตวิทยา) ในวัยรุ่น | en_US |
dc.subject | รักร่วมเพศ | en_US |
dc.subject | เกย์ | en_US |
dc.subject | สตรีเลสเบี้ยน | en_US |
dc.subject | เลสเบี้ยน | en_US |
dc.subject | Prejudices in adolescence | en_US |
dc.subject | Homosexuality | en_US |
dc.subject | Gays | en_US |
dc.subject | Lesbians | en_US |
dc.subject | Lesbianism | en_US |
dc.title | ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับอคติของวัยรุ่นต่อบุคคลรักเพศเดียวกันชายและหญิง | en_US |
dc.title.alternative | Selected factors related to adolescents' prejudice toward gays and lesbians | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาพัฒนาการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1177 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
adisorn_to_front.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_ch1.pdf | 6.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_ch2.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_ch3.pdf | 3.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_ch4.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_ch5.pdf | 760.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
adisorn_to_back.pdf | 5.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.