Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์-
dc.contributor.authorวิสาข์ อิ่มใจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-03T04:22:54Z-
dc.date.available2018-06-03T04:22:54Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59002-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบระหว่างศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ว่ามีปัญหาอุปสรรค และมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร จากการศึกษาพบว่าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มีองค์ประกอบของผู้พิพากษาศาลฎีกาเป็นฝ่ายเสียงข้างมาก จึงมีโอกาสมากที่ผู้พิพากษาศาลฎีกาจะได้รับเลือกเป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีที่มาหลากหลายทำให้เกิดการแทรกแซงจากฝ่ายการเมืองได้ง่าย วุฒิสภาล้มเหลวในการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพราะฝ่ายบริหารแทรกแซงการสรรหาได้ทั้งกระบวนการ เกิดปัญหาความเป็นอิสระและเป็นกลางในการทำหน้าที่ ผลจากการวิจัยจึงได้เสนอให้ รัฐสภามีบทบาทในการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ที่มาของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีความยึดโยงกับประชาชน และปรับลดจำนวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญลง เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญมีความเป็นอิสระ เป็นกลางและหลากหลายมากขึ้น ปรับคุณสมบัติของผู้พิพากษาศาลฎีกากำหนดให้ผู้พิพากษาศาลฎีกา หรือตุลาการศาลปกครองสูงสุดมาจากการคัดเลือกของประชาชนหรือตัวแทนของประชาชน การมีส่วนร่วมของตุลาการในการคัดเลือกตัวแทนยังคงมีอยู่แต่อาจเปลี่ยนรูปแบบ เช่น เพียงให้ข้อคิดเห็นหรือให้คำปรึกษา กำหนดให้อำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญจำกัดเฉพาะ การรักษาความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติและพระราชกำหนด คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายเท่านั้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is aimed at studying the structure and power of the constitutional court and comparing the 1997 constitution of Thailand and the 2007 constitution of Thailand to find out how they are alike and different and what problems they have. After the study, the author has found out that Judges of the Constitutional Court under the 1997 had the judges of the Supreme Court as a majority so that it was possible that a judges would be appointed as the chairman of the constitutional court. Various committees of recruiting Judges of the Constitutional Court can be easily interfered. The Senate in selecting Judges of the Constitutional Court because the administration completely interfered so it lacked freedom and neutrality. According to the research, the author suggests the parliament play a major role in selecting Judges of the Constitutional Court in order to make Judges of the Constitutional Court and the population closely connected, and decrease the number of Judges of the Constitutional Court in order to make constitutional court more neutral, various and free. The judges of the Supreme Court are supposed to be appointed by the population or the representatives of the population. Judges still can take part but some things should be changed, for example, only expressing opinions and giving advice. The constitutional court’s authority should be constricted. The constitutional court is supposed to check to see whether any law is contrary to the constitution or not by controlling and checking the constitutionality of the bills enacted by The National Assembly, including protecting the population’s rights and liberty and checking the constitutionality of the law.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.270-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเขตอำนาจศาล -- ไทยen_US
dc.subjectศาลรัฐธรรมนูญ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยen_US
dc.subjectรัฐธรรมนูญ -- ไทยen_US
dc.subjectJurisdiction -- Thailanden_US
dc.subjectConstitutional courts -- Law and legislation -- Thailanden_US
dc.subjectConstitutions -- Thailanden_US
dc.titleปัญหาว่าด้วยโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษาเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญตามบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550en_US
dc.title.alternativeProblems of structure and power of the Constitutional Court : comparative studies of Thailand Constitutions B.E.2540 and Thailand Constitutions B.E.2550en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKriengkrai.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.270-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wisa_im_front.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
wisa_im_ch1.pdf746.16 kBAdobe PDFView/Open
wisa_im_ch2.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open
wisa_im_ch3.pdf7.97 MBAdobe PDFView/Open
wisa_im_ch4.pdf6.77 MBAdobe PDFView/Open
wisa_im_ch5.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
wisa_im_back.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.