Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์-
dc.contributor.authorดุลยวิทย์ นาคนาวา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-20T09:06:14Z-
dc.date.available2018-06-20T09:06:14Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59144-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ทางวากยสัมพันธ์ของมัศดัรโครงคำและมัศดัรกลุ่มคำตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ. 1876-2011) (2) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการปรากฏร่วมกับประเภททางอรรถศาสตร์ของคำกริยาที่เกิดร่วมด้วยของมัศดัรทั้ง 2 แบบ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ. 1876-2011) และ (3) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ด้านความแปลกเด่นของมัศดัรโครงคำและมัศดัรกลุ่มคำทั้ง 2 ประเภทแบบข้ามสมัยโดยใช้แนวทางการศึกษาแบบเน้นการแปร ศึกษาความแปลกเด่นด้านการใช้ของมัศดัรโครงคำและมัศดัรกลุ่มคำที่นำหน้าโดยหน่วยคำ an และ anna ในภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ซึ่งทราบได้จากความถี่ในการปรากฏ ผลการศึกษาในด้านวากยสัมพันธ์พบว่ามัศดัรทั้ง 3 แบบปรากฏร่วมกันในตำแหน่งประธาน กรรม หลังคำบุพบท ส่วนเติมเต็มประธาน และสัมพันธการก โดยมีเพียงตำแหน่งกรรมและหลังคำบุพบทเท่านั้นที่มัศดัรทั้ง 3 แบบปรากฏครบ 7 ช่วงระยะเวลา ในด้านประเภททางอรรถศาสตร์ของกริยาพบว่ามัศดัรทั้ง 3 แบบปรากฏร่วมกันในกริยากลุ่มแสดงการสื่อสารและคำพูด กริยาแสดงความต้องการและความหวัง กริยาแสดงทัศนะภาวะ กริยาแสดงความคิดและการรับรู้ กริยาแสดงสถานะ กริยาแสดงการกระทำ และสัมพันธกริยาโดยมีเพียงมัศดัรโครงคำเท่านั้นที่ปรากฏได้กับทุกกลุ่มกริยาครบทั้ง 7 ช่วงระยะเวลา นอกจากนี้ยังพบว่ามัศดัรกลุ่มคำประเภทที่ 2 มีสัดส่วนในการปรากฏกับกริยาแสดงการสื่อสารและคำพูดมากขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ 4-7 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ด้านความแปลกเด่นในภาพรวมพบว่ามัศดัรโครงคำมีลักษณะที่ไม่แปลกเด่น โดยปรากฏมากกว่ามัศดัรกลุ่มคำทั้ง 2 ประเภททุกช่วงระยะเวลา และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา ในขณะที่มัศดัรกลุ่มคำทั้ง 2 ประเภทมีลักษณะที่แปลกเด่น โดยมัศดัรโครงคำประเภทที่ 1 มีแนวโน้มลดลง และมัศดัรโครงคำประเภทที่ 2 มีแนวโน้มคงที่en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to (1) study the changes in syntactic positions of templatic and periphrastic maṣdars from the 19th century to the present (1876-2011), (2) study the changes in the collocation of semantic verb types with templatic and periphrastic maṣdars from the 19th century to the present (1876-2011), and (3) study diachronic changes in markedness relations of templatic and both types of periphrastic maṣdars by adopting the variationist approach to linguistic change. This study examines the markedness relation of templatic maṣdars and both types of periphrastic maṣdars those preceded by morpheme an and anna in Modern Standard Arabic and can observe by frequency in occurrences. With respect to syntactic positions, The results reveal that the three types of maṣdars can occur as subjects, objects, postpositions, subject complements and genitives. However, only in the objects and the postpositions did the three types of maṣdars occur in all the seven periods of time. For semantics verb type, the results show that the three types of maṣdars can occur with verbs of informing and speaking, verbs of wishing, modal verbs, verbs of cognition and sense, verbs of status, verbs of action and copula verbs. Nevertheless, but only templatic maṣdars occured with every verb type during seven periods. The result also shows that type-II periphrastic maṣdars occurring with verb of informing and speaking increased from the 4th to 7th period. In summary, the result shows that templatic maṣdars, in general, are unmarked and show a decreased in markedness through time more frequently than both types of periphrastic maṣdars over all the time periods and on the other hand, both types of periphrastic maṣdars are marked. While the frequency of type-I periphrastic maṣdars decreases over time, type-II periphrastic maṣdars remain relatively stable.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.724-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาอาหรับ -- คำกริยาen_US
dc.subjectภาษาศาสตร์เชิงประวัติen_US
dc.subjectArabic language -- Verben_US
dc.subjectHistorical linguisticsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ด้านความแปลกเด่นของมัศดัรโครงคำและมัศดัรกลุ่มคำ ในภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่: การศึกษาข้ามสมัยen_US
dc.title.alternativeMarkedness relation between templatic and periphrastic maṣdar in modern standrad arabic: a diachronic studyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPittayawat.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.724-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5480508422.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.