Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWasan Udayachalerm-
dc.contributor.advisorDootchai Chaiwanichsiri-
dc.contributor.authorSupa Chomchang-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2008-02-26T03:19:50Z-
dc.date.available2008-02-26T03:19:50Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.isbn9743466363-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5976-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000en
dc.description.abstractTo compare the effect of different frequency and duration of interval exercise training program on exercise capacity change in patients with chronic heart failure (CHF). Twenty-six CHF parients with NYHA FC II-III were enrolled into the study. They were divided into 2 groups. Group A (M=11, F=2, mean age=59+-7 years, mean LVEF=38+-11%) underwent exercise program 5 times/week x 3 weeks. Group B (M=11, F=2, mean age=57+-9 years, mean LVEF=40+-9%) underwent 3 times/week x 5 weeks. The exercise consisted of 15 min. of interval bicycling (30-s work phases/60-s recovery phases) and 10 min. of interval treadmill walking (60-s work and recovery phases each). A steep ramp test was developed to derived maximal short time exercise capacity (MSEC) for work phases in interval bicycle raining, which used 50% of MSEC for exercise intensity. The peak oxygen consumption (peak VO2) from ordinary ramp test were assessed before and after the training programs. The result showed that MSEC and peak VO2 was significantly increased in both groups: MSEC: group A; from 141.15+-53.74 to 184.77+-65.75 W. (p<0.000), group B; from 157.77+-54.88 to 204.62+-59.18 W. (p<0.000), peak VO2: group A; from 13.32+-3.77 to 15.54+-5.14 ml/kg/min (p<0.018), group B from 14.88+-4.32 to 17.64+-4.10 ml/kg/min (p<0.000). Compared between group A and B, the MSEC (p=0.72) and peak VO2 (p=0.54) changed were not significantly different. Conclusion: The improvement in exercise capscity of CHF patients performed interval training 3 times/week x 5 weeks was not different from the program performed 5 times/week x 3 weeks.en
dc.description.abstractalternativeศึกษาเปรียบเทียบผลของการลดความถี่และเพิ่มระยะเวลา ของการฝึกออกกำลังกายแบบช่วงต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถ ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังจำนวนทั้งสิ้น 26 ราย NYHA FC II-III แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A 13 คน (ชาย = 11 คน หญิง = 2 คน อายุเฉลี่ย 59+-7 ปี ค่า LVEF เฉลี่ย 38+-11%) ฝึก 5 ครั้ง/สัปดาห์ นาน 3 สัปดาห์ กลุ่ม B 13 คน (ชาย = 11 คน หญิง = 2 คน อายุเฉลี่ย 57+-9 ปี ค่า LVEF เฉลี่ย 40+-9%) ฝึก 3 ครั้ง/สัปดาห์ นาน 5 สัปดาห์ วิธีการฝึกออกกำลังกายประกอบด้วยการปั่นจักรยานแบบช่วง 15 นาที (ขณะปั่นหนักใช้เวลานาน 30 วินาที สลับกันระยะพักปั่นเบา 15 วัตต์นาน 60 วินาที) และเดินบนลู่กลแบบช่วง 10 นาที 3 ครั้ง/สัปดาห์ (การเดินเร็วสลับช้าในแต่ละระยะใช้เวลานาน 60 วินาที) ความหนักของการฝึกปั่นจักรยานหรืองานที่ทำ ได้มาจากการทดสอบด้วยวิธีของ Steep ramp test ซึ่งจะใช้เพียง 50% ของอัตรางานที่ทำได้สูงสุดจากการทดสอบ ก่อนและหลังการฝึกออกกำลังกายแบบช่วง จะทดสอบวัดระดับความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกาย โดยใช้แบบทดสอบของ Ordinary ramp test ผลการวิจัยพบว่า อัตรางานที่ทำได้และความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด ของร่างกายทั้งสองกลุ่มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ: อัตรางานสูงสุดที่ทำได้ กลุ่ม A เพิ่มขึ้นจาก 141.15+-53.74 เป็น 184.77+-65.75 วัตต์ (p<0.000) กลุ่ม B เพิ่มขึ้นจาก 157.77+-54.88 เป็น 204.62+-59.18 วัตต์ (p<0.000) ความสามารถในการใช้ออกซิเจนของร่างกายสูงสุด กลุ่ม A เพิ่มขึ้นจาก 13.32+-3.77 เป็น 15.54+-5.14 มล/กก/นาที (p<0.018) กลุ่ม B เพิ่มขึ้นจาก 14.88+-4.32 เป็น 17.64+-4.10 มล/กก/นาที (p<0.000) ภายหลังฝึกความสามารถในการออกกำลังกายทั้งสองกลุ่มเพิ่มขึ้น ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (อัตรางานสูงสุด: p=0.72 ความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกาย: p=0.54) ผลสรุปของการศึกษา การฝึกออกกำลังกาย 3 ครั้ง/สัปดาห์ นาน 5 สัปดาห์ ทำให้ความสามารถในการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นได้ไม่แตกต่างจากวิธีฝึก 5 ครั้ง/สัปดาห์นาน 3 สัปดาห์en
dc.format.extent7532815 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectHeart -- Diseases -- Patientsen
dc.subjectHeart failureen
dc.subjectExerciseen
dc.titleThe comparative of frequency and duration in interval exercise training program on exercise capacity changes in patients with chronic heart failureen
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบความถี่และระยะเวลาที่แตกต่างกัน ของการฝึกออกกำลังกายแบบช่วง ต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถในการออกกำลังกาย ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineSports Medicinees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisordootchai@hotmail.com-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supajom.pdf7.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.