Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์-
dc.contributor.authorเจิด บรรดาศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T06:03:37Z-
dc.date.available2018-09-14T06:03:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59922-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractลูชาโน ฟลอริดิ(Luciano Floridi) เสนอแนวคิดที่เรียกว่าปรัชญาสารสนเทศ. ปรัชญาสารสนเทศนี้เป็นแนวคิดที่ถกเถียงกับทฤษฎีการสื่อสารหรือทฤษฎีสารสนเทศแบบคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นแนวคิดที่มองว่าสารสนเทศคือหน่วยของข้อความในระบบการสื่อสาร. แต่สำหรับฟลอริดิแล้ว ปรัชญาสารสนเทศนี้เป็นการพิจารณาสารสนเทศในฐานะมโนทัศน์พื้นฐานทางปรัชญา(Philosophia Prima). ประเด็นสำคัญสำหรับปรัชญาสารสนเทศในฐานะมโนทัศน์ทางปรัชญาก็คือ สารสนเทศเป็นองค์ประกอบของการอ้างความรู้ เพราะว่าการได้รับสารสนเทศที่เป็นจริงถือเป็นส่วนหนึ่งของเหตุผลสนับสนุนความเชื่อ(Justified Belief). และข้อเสนอสำคัญในปรัชญาสารสนเทศของฟลอริดิคือแนวคิดเรื่องสัจนิยมแบบโครงสร้างสารสนเทศ กล่าวคือ สารสนเทศเป็นโครงสร้างการอธิบายความเป็นจริง. สัจนิยมแบบโครงสร้างสารสนเทศจึงถือเป็นข้อเสนอทางอภิปรัชญาผ่านแนวคิดปรัชญาสารสนเทศ. วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะทำการศึกษาประเด็นอภิปรัชญาในปรัชญาสารสนเทศของฟลอริดิ และเสนอเหตุผลปกป้องปรัชญาสารสนเทศของฟลอริดิจากข้อโต้แย้งของนักปรัชญาท่านอื่นๆ. และผู้วิจัยจะแสดงให้เห็นปัญหาของปรัชญาสารสนเทศของฟลอริดินั่นก็คือ ปัญหาระดับชั้นทางญาณวิทยา จากนั้นผู้วิจัยได้เสนอแนวทางหลีกเลี่ยงปัญหาระดับชั้นทางญาณวิทยาด้วยแนวคิดมุมมองอัตวิสัยและวัตถุวิสัยของจิตสำนึกในแนวคิดของธอมัส เนเกล(Thomas Nagel). มุมมองอัตวิสัยและวัตถุวิสัยของจิตสำนึกคือการถอยออกมาจากมุมมองอัตวิสัยแล้วพิจารณามุมมองเดิมเป็นวัตถุของจิตสำนึก ซึ่งการถอยออกจากมุมมองเดิมนี้ทำให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองเดิมกับโลก. การมองเห็นความสัมพันธ์ของมุมมองเดิมกับโลกจะทำให้เกิดการประเมินมุมมองของตนเองและหลีกเลี่ยงปัญหาระดับชั้นทางญาณวิทยาได้-
dc.description.abstractalternativeLuciano Floridi proposes a kind of philosophy of information, which treats information as a philosophical concept unlike that found in a communication theory or a mathematical theory of information that treats Information as a quantity of message. Furthermore, information in Floridi’s philosophy is a fundamental concept of philosophy (Philosophia Prima), which means information is used to explain various philosophical problems. One important philosophical pay out of information is that it is a part of justified belief, thus Information is an element of knowledge. Floridi’s philosophy of information is based on informational structural realism, a view that the structure of reality can be explained through information. Thus, Floridi’s informational structural realism is a metaphysical thesis. This dissertation discusses Floridi’s philosophy of information and defends his view against a number of critics. More specifically, the dissertation shows that Floridi’s view suffers from a problem known as epistemic levelism. I purpose an argument to avoid such a problem. The argument against epistemic levelism is based on Thomas Nagel’s subjective-objective viewpoint of consciousness. Nagel’s view on consciousness is that objectivity is about how we step back and take the initial subjective viewpoint as an object of thought. Theobjective viewpoint provides more understanding of the world because it shows the relation between the subjective view point and the world. Thus, epistemic levelism can be avoided because the objective viewpoint leads to a comparison of understanding, and this leads to new understanding of oneself and the world.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1035-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectทฤษฎีสารสนเทศ-
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต-
dc.subjectInformation theory-
dc.titleแนวคิดของลูชาโน ฟลอริดิ เรื่อง ความเป็นจริงในฐานะสารสนเทศ-
dc.title.alternativeLUCIANO FLORIDI ON REALITY AS INFORMATION-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineปรัชญา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSoraj.H@Chula.ac.th,hsoraj@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1035-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5580503322.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.