Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60307
Title: | FACTORS ASSOCIATED HYPERTENSION AMONG PREGNANT WOMEN IN DILI MUNICIPALITY TIMOR LESTE |
Other Titles: | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ เมืองดิลี ประเทศติมอร์เลสเต |
Authors: | Estela Laot Perpetua Ana Mery |
Advisors: | Nutta Taneepanichskul |
Other author: | Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
Advisor's Email: | Nutta.T@chula.ac.th,nutta.t@chula.ac.th |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Purpose: Hypertension in pregnancy is one main cause of maternal morbidity among pregnant women worldwide and is also a significant public health concern. This study aimed to find factors associated with hypertension among pregnant women in Dili municipality of Timor Leste. Design/Methodology/approach: A cross-sectional study was conducted among 438 pregnant women at the Five Community Health Centre in Dili municipality, Timor Leste between April and May 2018. Face to face interview was conducted. Descriptive analysis, bivariate analysis, and multivariate analysis logistic regression were performed by SPSS version 22.0 were used to analyze the data. Findings: The prevalence of hypertension among pregnant women was 23.5%. Salty food intake (p=0.027), noise disturbance during daytime (p=0.027), and the distance to the main road (pP=0.004) were associated with hypertension among pregnant women. In the multivariate analysis, increased a week of pregnancy (AOR = 1.031; 95% CI: 1.004, 1.058), ever been diagnosed with hypertension during pregnancy (AOR = 10.297; 95% CI: 3.133, 33.840), and quite noisy during daytime (AOR = 0.393; 95% CI: 0.183, 0.841) were increased risk of conducted developed significant associated with hypertension status among pregnant women. Conclusion: The prevalence rates were lower than pregnant women with non-hypertension within Dili municipality, Timor Leste. Having a salty food during pregnancy and noise disturbance may increase a risk of high blood pressure among pregnant women. The adequate health education program in preventive high blood pressure and promotion knowledge about related factors and counseling is extremely needed in order to reduce hypertension and the factors may influence hypertension in pregnancy. |
Other Abstract: | บทนำ ภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์เป็นภาวะเจ็บป่วยของมารดาที่สำคัญ และเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุกของภาวะความดันโลหิตสูง และหาปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ เมืองเดลิ ประเทศติมอร์เลสเต ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์จำนวน 438 คนที่เข้ารับบริการในศูนย์สุขภาพชุมชนจำนวน 5 ศูนย์ในเมืองเดลิ ประเทศติมอร์เลสเต ระหว่างเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม 2561 การสัมภาษณ์ได้ถูกนำมาใช้เพื่อสอบถามข้อมูลจากหญิงตั้งครรภ์หลังจากการวัดความดันโลหิต การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และเชิงวิเคราะห์โดยสถิติ ไคท์สแควร์ และสมการถดถอยโลจิสติกได้ถูกนำมาใช้เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ และภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ ผลการศึกษา ความชุกของภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์คิดเป็นร้อยละ 23.5 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูงในการวิเคราะห์ไคท์สแควร์ ได้แก่ การรับประทานอาหารรสเค็ม (p=0.027) เสียงรบกวนในช่วงกลางวัน (p=0.027) และระยะทางจากบ้านถึงถนน (p=0.004) และการวิเคราะห์หลากหลายตัวแปร พบว่าจำนวนสัปดาห์ของการตั้งครรภ์ที่เพิ่มขึ้นหนึ่งสัปดาห์ส่งผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงต่อ 1.031 เท่าต่อการเกิดภาวะความดันโลหิตสูง (AOR = 1.031; 95% CI: 1.004, 1.058) และความดังของเสียงระดับต่ำในช่วงเวลากลางวันเป็นปัจจัยป้องกันต่อการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงของหญิงตั้งครรภ์ (AOR = 0.393; 95% CI: 0.183, 0.841) บทสรุป การรับประทานอาหารรสเค็มเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ และปัจจัยเสียงในสิ่งแวดล้อมเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความดันโลหิตในหญิงตั้งครรภ์ จากผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่าควรมีการจัดโปรแกรมให้ความรู้ และจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อลดภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์เมืองเดลิ ประเทศติมอร์เลสเต |
Description: | Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2017 |
Degree Name: | Master of Public Health |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Public Health |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60307 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.474 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2017.474 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pub Health - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6078847953.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.