Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพรรณ สุขอรุณ-
dc.contributor.authorอรรถกร ปาละสุวรรณ-
dc.contributor.authorดรุณวรรณ สุขสม-
dc.contributor.authorฉัตรดาว อนุกูลประชา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2018-10-01T06:48:21Z-
dc.date.available2018-10-01T06:48:21Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60353-
dc.descriptionเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการวิจัย ผลของการฝึกไทชิโดยเน้นการหายใจต่อระดับการต้านอนุมูลอิสระ และสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอาย-
dc.description.abstractวัยสูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ การออกกำลังกายอยํางสม่ำเสมอถูกแนะนํา ให้ ผู้สูงอายุปฏิบัติเพื่อการมีสุขภาพดี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการฝึกมิราเคิลไทชิประยุกต์ที่มีต่อสุขสมรรถนะในหญิงสูงอายุ วิธีดําเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง เป็นอาสาสมัครผู้สูงอายุเพศหญิง อายุระหว่าง 60-69 ปี จำนวน 40 คน สุ่มแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม จำนวน 12 คน กลุ่มฝึกไทชิ จำนวน 15 คน และกลุ่มฝึกมิราเคิลไทชิ ประยุกต์ จำนวน 13 คน กลุ่มฝึกออกกำลังกายทั้ง 2กลุ่ม ทำการฝึกวันละ 1 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการทดสอบสุขสมรรถนะ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง เปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ย ของ ตัวแปรระหว่างก่อนและหลังการทดลองโดยการทดสอบค่าที แบบรายคู่ และ เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรระหว่างกลุ่มทดลองโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียว ทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย ภายหลังการทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่ากลุ่มฝึกไทชิมีค่าเฉลี่ยของความจุปอด การทรงตัว ขณะอยู่กับที่บนพื้นเรียบเปิดตาสูงขึ้นจากก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มฝึก มิราเคิลไทชิประยุกต์มีค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์ไขมันลดลง แต่มีมวลกล้ามเนื้อ ความแข็งแรงของต้นแขน ด้านหลัง ความแข็งแรงของต้นขาด้านหน้า ความแข็งแรงของต้นขาด้านหลัง การทรงตัวบนพื้นยืดหยุ่นปริมาตร หายใจออกใน 1 วินาที สมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05โดยกลุ่ม ฝึกมิราเคิลไทชิประยุกต์มีเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดสูงกว่ากลุ่มฝึกไทชิ และกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย การฝึกมิราเคิลไทชิประยุกต์มีผลช่วยพัฒนาสุขสมรรถนะทางกายของผู้สูงอายุได้ดีกว่าการฝึกไทชิจึงเหมาะสมที่จะเป็นทางเลือกในการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีขึ้น ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeAging increased the risk for developing chronic disease. Regular exercise are frequently prescribed for healthy individuals elderly. Purpose The present study was to determine the effects of Modified Miracle Tai Chi training on health-related physical fitness in the elderly women. Methods Forty elderly women (age 60-69 yrs) were randomized into three groups : control (CON; n=12), Tai chi (TC; n=15) and Modified Miracle Tai Chi (MTC; n=13) groups. Both exercise programs were approximately 60 minutes per session, 3 times per week for 12 weeks. Pre and post test, selected healthrelated physical fitness of all participants were measured. The differences of various parameters between preand post-test were analyzed by paired t-test. One-way analysis of variance, followed by Scheffe’s multiple comparison was used to determine the significant differences among groups of subjects. Significant difference level was set at .05 level. Results The results showed that after 12 weeks, TC group had significantly increase (p<.05) in vital capacity and static balance on smooth floor compared to pre-test. MTC group had significant decrease (p<.05) in percentage of body fat and significantly increase (p<.05) in muscle mass, the Triceps, Quadriceps and Hamstrings strength, static balance on flexible floor, Forced Expiratory Volume in One second (FEV1) and maximal oxygen consumption (VO2max) compared to pre-test. Moreover, compared to the CON and AD groups, VO2max of MTC were significantly higher (p<.05). Conclusion Modified Miracle Tai Chi had greater positive effects on improving health-related physical fitness in the elderly than traditional tai chi. Therefore, Modified Miracle Tai Chi could be the alternative exercise program for promoting healthy agingen_US
dc.description.sponsorshipกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.ispartofโครงการวิจัย ผลของการฝึกไทชิโดยเน้นการหายใจต่อระดับการต้านอนุมูลอิสระ และสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไท้เก๊กสำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.subjectการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.subjectสมรรถภาพทางกายen_US
dc.subjectTai chi for older peopleen_US
dc.subjectExercise for older peopleen_US
dc.subjectPhysical fitnessen_US
dc.titleผลของการฝึกไทชิโดยเน้นการหายใจต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ : โครงการวิจัยen_US
dc.title.alternativeผลของการฝึกไทชิโดยเน้นการหายใจต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ : รายงานความก้าวหน้างานวิจัยen_US
dc.title.alternativeEffects of modified miracle Tai Chi training on health-related physical fitness in elderlyen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorAttakorn.P@Chula.ac.th-
dc.email.authorDaroonwan.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:All - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supun Su_Res_2554.pdf6.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.