Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorเฉลิมพร พลประสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialเลย-
dc.date.accessioned2018-12-02T07:47:20Z-
dc.date.available2018-12-02T07:47:20Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60646-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractเหมืองแร่ทองคำทุ่งคำ ตั้งอยู่ในเขตบ้านนาหนองบง ตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2549 แต่เมื่อปี 2555 สันเขื่อนของบ่อกักเก็บกากไขยาไนด์เกิดการทรุดตัวและพังลง จากเหตุการณ์ข้างต้น คุณภาพแหล่งน้ำผิวดินมีโอกาสถูกปนเปื้อนและไม่เหมาะที่นำมาใช้เพื่อการอุปโภค-บริโภค ดังนั้นแหล่งน้ำบาดาลจึงมีความสำคัญมากขึ้นในอนาคต โดยงานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการไหลของน้ำบาดาลและประเมินการใช้น้ำบาดาลในปัจจุบันเพื่อคาดคะเนอัตราการสูบน้ำที่เหมาะสมในอนาคตโดยไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณกักเก็บของแหล่งน้ำบาดาล (Safe yield) โดยใช้แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์ใน Visual MODFLOW เพื่ออธิบายทิศทางการไหลและสมดุลน้ำบาดาลบริเวณรอบเหมืองทองคำทุ่งคำ ข้อมูลต่าง ๆ ที่นำเข้ามาในแบบจำลองนำมาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกรมทรัพยากรน้ำบาลดาล, สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ภาควิชาเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นต้น ในปี 2539 และ ปี 2555 ภายหลังจากการปรับเทียบแบบจำลองทั้งในสภาวะคงที่และสภาวะเปลี่ยนแปลงตามเวลา พบว่า ค่า RMS ของแบบจำลอง อยู่ในช่วง 2.00 ถึง 7.13 เมตร, ค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านในแนวราบอยู่ในช่วง 0.518400 ถึง 0.00001 เมตรต่อวัน, ค่าสัมประสิทธิ์การกักเก็บอยู่ในช่วง 0.05 ถึง 1E-5 ซึ่งสัมพันธ์กับการศึกษาก่อนหน้านี้และทิศทางการไหลของน้ำบาดาลไหลจากทิศตะวันตกลงสู่ทิศตะวันออกเป็นหลัก และชั้นให้น้ำที่มีอัตราการไหลออกของน้ำบาดาลมากที่สุด คือ ชั้นให้น้ำชั้นที่ 1 (Zone 1) ด้วยอัตรา 220.75 ลบ.ม.ต่อวันen_US
dc.description.abstractalternativeThe Tungkum gold mine area is located in the village of Ban Na Nong Bong, Khao Luang Sub-district, Wang Saphung District of Loei Province, Thailand. The mining site started the operation in 2006, but the wall of tailing pond collapsed in 2012 causes the contamination of surface water. Since groundwater resource in this area appears to be l be vital important due to water shortage, particularly in summer season. The objective of this study mainly focused on groundwater flow and estimate water balance of the groundwater system. A numerical model, so-called Visual MODFLOW, is the effective tool to explain groundwater flow direction and water budget around this study area. The input data were mainly derived from previous observed data by many government agencies in 1996 and 2012. The groundwater flow modeling was calibrated in both the steady and transient states with RMS ranging between2.00 - 7.13 m. According to the calibration and verification results, The horizontal hydraulic conductivity (K) was in the range of 1E-5 to 0.518 m/day and the specific storage (Ss) was in the range of 0.05 to 1E-5.The groundwater flow direction is mainly oriented in the western to eastern direction. Finally, Zone 1 appeared to be the most losing water zone at the rate of approx. 220.75 m3/dayen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- ไทย -- เลยen_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- การปนเปื้อน -- ไทย -- เลยen_US
dc.subjectเหมืองแร่ทองคำทุ่งคำ (เลย)en_US
dc.subjectGroundwater -- Thailand -- Loeien_US
dc.subjectGroundwater -- Contamination -- Thailand -- Loeien_US
dc.subjectTungkum gold mine (Loei)en_US
dc.titleแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาลบริเวณรอบเหมืองแร่ทองคำทุ่งคำ จังหวัดเลยen_US
dc.title.alternativeGroundwater flow modeling around the Tungkum gold mine area, Loei province, Thailanden_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSrilert.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Chaloemporn Polprasit.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.