Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6090
Title: Area selection for solid waste disposal at Changwat Songkhla
Other Titles: การเลือกพื้นที่สำหรับการฝังกลบขยะมูลฝอยที่จังหวัดสงขลา
Authors: Rottana Ladachart
Advisors: Chaiyudh Khantaprab
Supichai Tangjaitrong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: No information provided
supichai@sc.chula.ac.th
Subjects: Land use
Sanitary landfill closures
Sanitary landfills
Issue Date: 2002
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The problem of solid waste disposal becomes a serious problem of environmental concerns because most solid waste is disposed either by open dumping or sanitary landfill. This can badly affect the environment if landfill leachate contaminate soil or water resources. The increasing of population, human activities, and city expansion make a deficit for selecting potential areas for landfill in the future. This study has extended a landfill selection technique by incorporating geological characteristics of groundwater percolation into the analysis. Firstly, the calculation of area required for solid waste disposal in the next 20 years was carried out. This was done under the scenarios of maximum, mean, and minimum population growth rates. Then, GIS was used to analyze suitability of areas for solid waste disposal. The selecting criteria included slope terrain, surface water, groundwater, geological features, flood prone areas, community areas, land use, and transportation. The identification of landfill area was conducted by positive/negative- mapping. For the positive map, information on geological barrier, which was introduced in this study, was considered as a natural prevention of groundwater contamination from landfill leachate. The study found that from 7,400 km[superscript 2] of the study area, 106 km[superscript 2] are highly suitable candidate for waste disposal. The 5 five biggest patches of these high suitability areas, are in Tambon Khlong Hoi Khong, Tambon Thung Mo, and Tambon Samnak Kham. They are situated in the western part of Songkhla with area of 10.114 9.916 6.282 3.610 and2.997 km[superscript 2], respectively.
Other Abstract: ปัญหาการกำจัดมูลฝอย เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จากการเพิ่มของประชากร การดำเนินกิจการต่างๆ ของมนุษย์ และการขยายตัวของเมือง เนื่องจากการกำจัดมูลฝอยส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการกำจัดแบบกองทิ้งในที่โล่งแจ้งและแบบฝังกลบ ซึ่งมีโอกาสเกิดความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อมจากน้ำชะมูลฝอยซึ่งมีค่าความสกปรกสูงไหลลงสู่ดิน แหล่งน้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดการปนเปื้อนแก่ดิน และแหล่งน้ำในบริเวณที่กำจัดมูลฝอยตลอดจนบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง อีกทั้งขาดแคลนพื้นที่กำจัดมูลฝอย และไม่สามารถรองรับปริมาณมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นในอนาคตได้ จึงควรมีการวางแผน และเตรียมการหาพื้นที่กำจัดมูลฝอยให้สอดคล้องกับการขยายตัวและพัฒนาเมืองเป็นสำคัญ การศึกษาในครั้งนี้ได้พัฒนาเพิ่มเติมเทคนิคในการคัดเลือกพื้นที่สำหรับฝังกลบขยะ เพื่อให้ได้กระบวนการคัดเลือกพื้นที่ที่มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยแบ่งขั้นตอนการเลือกพื้นที่ออกเป็น การหาขนาดของพื้นที่ที่เหมาะสมในการฝังกลบขยะมูลฝอยที่สามารถรองรับปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากประชากรในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ.2545-2565) ซึ่งได้ทำการประเมินทั้งกรณีการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างสูงสุด ปานกลาง และ ต่ำสุด การคำนวณหาขนาดพื้นที่ฝังกลบโดยใช้ปริมาณขยะที่ประเมินไว้เป็นเกณฑ์ และการหาพื้นที่ศักยภาพ โดยการนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) มาช่วย โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆ ทางกายภาพ อันได้แก่ ความลาดชัน แหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน ลักษณะทางธรณีวิทยา พื้นที่เสี่ยงต่อภาวะน้ำท่วม แหล่งชุมชน การใช้ที่ดิน การคมนาคม ทำการหาความเหมาะสมของด้วยวิธี positive/negative-mapping โดยแบ่งปัจจัยที่พิจารณาออกเป็น ปัจจัยด้านลบ และปัจจัยด้านบวก โดยเฉพาะปัจจัยด้านบวกนั้นได้ใช้การสร้างแนวขอบเขตทางธรณี ที่พัฒนาขึ้นมาในการศึกษานี้หา geological barrier ซึ่งจะเป็นแนวป้องกันการแพร่ของน้ำเสียจากแหล่งฝังกลบลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ จากพื้นที่ศึกษาทั้งสิ้น 7,400 ตารางกิโลเมตร สรุปได้ว่าพื้นที่ที่มีศักยภาพสำหรับการเป็นที่ฝังกลบขยะสูง มีพื้นที่โดยรวมเท่ากับ 106 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ที่มีขนาดที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 ถึง 5 คลอบคลุมอยู่บริเวณ ตำบลคลองหอยโข่ง ทุ่งหมอ และสำนักขาม ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของพื้นที่ มีขนาด 10.114 9.916 6.282 3.610 และ 2.997 ตารางกิโลเมตร ตามลำดับ
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Geology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6090
ISBN: 9741736615
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rottana.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.