Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์-
dc.contributor.authorปวริศ เมฆธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-13T06:58:42Z-
dc.date.available2018-12-13T06:58:42Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61071-
dc.descriptionเอกัตศึกษา(ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษาเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโอกาสของผู้ประกอบการภาคธุรกิจไทยหากมีการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 เต็มรูปแบบโดยศึกษาจากข้อเท็จจริงของสถานการณ์แรงงานต่างด้าวและสภาพปัยหาของการใช้แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย รวมถึงหลักทฤษฏีการคุ้มครองแรงงานภายใต้กฎหมาย ข้อบท บทบัญญัติและนโยบายต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และหลักทฤษฏีเศรษฐกิจแรงงานในมุมมองเศรษฐศาสตร์ของการสร้างความสมดุลและเหมาะสมในการจ้างแรงงานของผู้ประกอบการธุรกิจ จากการวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพปัญหาของการใช้แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยแสดงให้เห็นถึงการลักลอบทำงานและความคุ้มครองแรงงานที่ไม่เพียงพอทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมในสิทธิแรงงานจนกลับกลายเป็นปัญหาต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศและภาพลักษณ์ประเทศอีกทั้งการจ้างงานในประเทศไทยขาดความเหมาะสมของหลักดุลยภาพ อันเนื่องมาจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานจากความขาดแคลนแรงงานไทยแต่ทดแทนด้วยแรงงานต่างด้าวส่งผลให้เป็นช่องทางในการหลีกเลี่ยงต้นทุนของผู้ประกอบการจนกลับกลายเป็นความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานแรงงานในประเทศไทย จึงเกิดการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 โดยปรับปรุงกฎหมายแรงงานของประเทศไทยให้อยู่บนหลักเกณฑ์และบรรทัดฐานเดียวกับกฎหมายสากลเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นรวมถึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการการทำงานของแรงงานต่างด้าวให้มีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับจากต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ดังนั้นสรุปได้ว่าการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 เต็มรูปแบบนั้นเกิดผลกระทบต่ผู้ประกอบการภาคธุรกิจโดยเฉพาะเรื่องภาระค่าใช้จ่ายแต่ผู้เขียนมองว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็นเพียงผลกระทบระยะสั้น ถ้าหากผู้ประกอบการภาคธุรกิจไทยยอมรับถึงการเปลี่ยนแปลงโดยนำผลกระทบที่เกิดขึ้นมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจจะเป็นโอกาสที่ดีของผู้ประกอบการภาคธุรกิจไทยในระยะยาวที่จะช่วยพัฒนาระบบการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรและประเทศ รวมทั้งสามารถสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืนต่อไปได้ในอนาคตen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.29-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแรงงานต่างด้าวen_US
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์--จ้างแรงงานen_US
dc.titleโอกาสของธุรกิจไทยกับการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 เต็มรูปแบบen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorSuphasit.T@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordคนต่างด้าวen_US
dc.subject.keywordกฎหมายแรงงานen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2017.29-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
598 62093 34.pdf29.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.