Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุภาพ สมบูรณ์สวัสดี-
dc.contributor.authorศิวพร ทิพย์พันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2019-02-26T09:54:25Z-
dc.date.available2019-02-26T09:54:25Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61239-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าจากตัวแบบ การถดถอย เมื่อตัวแปรตามมีการแจกแจงแบบล็อกนอร์มอลและตัวแปรตามบางค่าเป็นข้อมูล ที่ถูกตัดปลายทางขวาแบบที่ 1 ด้วยวิธีกำลังสองต่ำสุด (OLS)  วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด (MLE) วิธีของแชตเทอร์จีและแมคลีช (CM) และวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดด้วยขั้นตอนวิธีอีเอ็ม (MLE_EM) ข้อมูลในการศึกษาได้จากการจำลองข้อมูลจำนวน 81 สถานการณ์ สถานการณ์ละ 10,000 รอบ ขนาดตัวอย่าง (n) เท่ากับ 30, 50, 100 และเปอร์เซ็นต์การถูกตัดปลายทางขวาของตัวแปรตาม (r) เท่ากับ 10%, 20%, 30% และอัตราส่วนความแปรปรวนของตัวแปรอิสระตัวที่ 1 ต่อตัวแปรอิสระ ตัวที่ 2 คือ 1:1, 1:2, 1:5 และอัตราส่วนความแปรปรวนรวมของตัวแปรอิสระต่อความคลาดเคลื่อน คือ 2:1, 1:1, 1:2 จากการศึกษาพบว่า 1) วิธี MLE และวิธี MLE_EM มีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (n=100) หรือตัวแปรตามถูกตัดปลายทางขวามาก (r=30%) ในทางกลับกัน 2) วิธี OLS เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อตัวอย่างมีขนาดเล็ก (n=30) หรือตัวแปรตามถูกตัดปลายทางขวาน้อย (r=10%) และ 3) วิธี CM เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในสถานการณ์ที่เหลือ กล่าวคือ เมื่อตัวอย่างมีขนาดปานกลาง (n=50) หรือตัวแปรตามถูกตัดปลายทางขวาปานกลาง (r=20%) นอกจากนั้นพบว่า 4) ทุกวิธีมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อตัวอย่างมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือตัวแปรตาม ถูกตัดปลายทางขวาน้อยลงหรือความคลาดเคลื่อนกระจายตัวน้อยกว่าตัวแปรอิสระ-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to compare the estimation methods for log-linear regression model with dependent variable under type-I right-censoring: 1) Ordinary Least Squares Method (OLS); 2) Maximum Likelihood Estimation (MLE); 3) Chatterjee and McLeish Method (CM); and 4) Maximum Likelihood Estimation using the EM algorithm (MLE_EM). The results on this research are from 81 simulated scenarios with simulation size of 10,000. The sample sizes (n) are 30, 50, 100;  the censoring proportions of data (r) are 10%, 20%, 30%; the ratio of variances of two independent variables of 2:1, 1:1, 1:2; the ratio of the sum of variances of two independent variables to error variance of 2:1, 1:1, 1:2. The findings are: 1) MLE_EM and MLE perform the best at large sample size (n=100) or high censoring proportion (r=30%); on the other hand, 2) OLS performs the best at small sample size (n=30) or low censoring proportion (r=10%); and 3) CM performs the best generally for the rest of scenarios such that the sample size is moderate (n=50) or censoring proportion is moderate (r=20%); moreover, 4) The efficiency of all of the methods increase when sample size increase or proportion of right-censored data on dependent variable decrease or ratio of the sum of variances of two independent variables to error variance increase.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1412-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectข้อมูลที่ถูกตัดปลาย-
dc.subjectการวิเคราะห์การถดถอย-
dc.subjectวิธีกำลังสองน้อยที่สุด-
dc.subjectทฤษฎีการประมาณค่า (สถิติ)-
dc.subjectCensored observations (Statistics)-
dc.subjectRegression analysis-
dc.subjectLeast squares-
dc.subjectEstimation theory-
dc.subject.classificationDecision Sciences-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการประมาณค่าจากตัวแบบการถดถอย สำหรับข้อมูลที่ถูกตัดปลายทางขวาแบบที่ 1 ที่มีการแจกแจงแบบล็อกนอร์มอล-
dc.title.alternativeA comparative study on estimation from regression model For type-I right-censored data from lognormal distribution-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถิติ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisoranupap.s@chula.ac.th-
dc.subject.keywordตัวแบบการถดถอย-
dc.subject.keywordข้อมูลที่ถูกตัดปลายทางขวาแบบที่ 1-
dc.subject.keywordความแปรปรวน-
dc.subject.keywordRegression Model-
dc.subject.keywordType-I Right-Censoring-
dc.subject.keywordVariance-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1412-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5981543026.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.