Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6225
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นลิน นิลอุบล | - |
dc.contributor.author | กาญจนา จันทองจีน | - |
dc.contributor.author | สุจินต์ ชลายนคุปต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-11T08:40:32Z | - |
dc.date.available | 2008-03-11T08:40:32Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6225 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะหาวิธีการผลิตสารต่อต้านพิษงูเห่าไทย (Naja naja siamensis) ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันโดยวิธีการง่าย ๆ สารต่อต้านพิษงูเห่าที่ผลิตได้ในปัจจุบันยังมีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร ปัญหาของการผลิตเกิดจากสาเหตุ 3 ประการ คือ พิษงูเห่าเป็นสารที่มีพิษสูงมาก ดังนั้น จึงไม่สามารถฉีดเข้าไปมากพอที่กระตุ้นให้สัตว์สร้างสารต่อต้านพิษงูเห่าในระดับสูงได้ ประการที่ 2 คือ พิษงูเห่ามีขนาดโมเลกุลเล็กจึงขาดคุณสมบัติของการเป็นแอนติเจนที่ดี และประการสุดท้ายคือ พิษงูเห่าที่รีดมาจากตัวงูนั้น มีสารโปรตีนชนิดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่พิษงูปะปนอยู่มาก งานวิจัยที่รายงานนี้คณะผู้วิจัยได้แก้ปัญหาทั้ง 3 ข้อดังกล่าวข้างต้น โดยแยกโปรตีนส่วนที่ไม่ใช่สารพิษออกได้ 35% ของโปรตีนในพิษงูทั้งหมดด้วยการแช่สารละลายของพิษงูที่อยู่ในสภาพเป็นกรด (pH 5.8) ในอ่างน้ำร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 นาที แล้วแยกเอาโปรตีนรูปโพลิเมอร์ด้วยสาร glutaraldehyde โพลิเมอร์ของพิษงูเห่าที่ได้นำไปใช้เป็นแอนติเจนในการกระตุ้นให้แกะสร้างสารต่อต้านพิษงูเห่า (anti-toxin) โดยใช้ปริมาณต่าง ฟ กัน ผลการทดลองพบว่า แกะกลุ่มที่ได้รับแอนติเจนขนาด 4 มิลลิกรัมต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัมสามารถสร้างสารต่อต้านพิษงูได้สูงถึง 154.64 L D[subscript 50] หลังจากที่ได้รับการฉีดแอนติเจน 20 ครั้ง ระดับของสารต่อต้านพิษงูที่ได้ในแกะกลุ่มนี้สูงเป็น 3 เท่าของที่ผลิตได้ในปัจจุบัน | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to produce higher quality anti-toxin of Thai cobra (Naja naja siamensis) venom, since the present used anti-toxin is still unsatisfactory. In order to do so, three problems must be solved. (a) to reduce the toxicity of toxin (b) to increase the molecular size of the toxin (c) to eliminate nontoxic protein from cobra venom. It was found in our study that 35% of nontoxic proteins could be removed by heating the cobra venom suspension of pH 5.8 at 80 C for 20 minutes. The partially purified toxin was detoxified and increased molecular size by polymerization with glutaradehyde. The polymer of toxin was used as antigen to immunize sheep. It was observed in a group of 3 sheep who received 4 mg. Of the polymer per 1 kg. of the body weight that the serum titer of the anti-toxin as high as 154.64 LD[subscript 50] could be induced after the administration of the 20th dose of antigen. The titer of anti-toxin produced in this experiment is about 3 times higher than those presently use in Thailand. | en |
dc.description.sponsorship | กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en |
dc.format.extent | 3312259 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พิษสัตว์ | en |
dc.title | การสร้างภูมิคุ้มกันต่อพิษงูเห่าในแกะ โดยการกระตุ้นของพิษงูที่อยู่ในรูปโพลิเมอร์ : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Immune response to polymerized cobra venom in sheep | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Naline.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Jkanchan@chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Naline(poly).pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.