Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6268
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorพัชร พรหมภักดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-19T01:31:01Z-
dc.date.available2008-03-19T01:31:01Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741423519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6268-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเกต และการสัมภาษณ์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิธีการ เลนเกมและเนื้อหาเกม 2) วิคราะห์เนื้อหาเกมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทางด้านสติปัญญา พัฒนาการทาง ด้านอารมณ์และบุคลิกภาพ และพัฒนาการทางด้านสังคมของเด็กผู้เข้าแข่งขัน 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้ปกครองของเด็กที่สมัครเข้าแข่งขัน ถึงผลกระทบจากการเล่นเกมในรายการ "สู้เพื่อแม" ต่อพัฒนาการและความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวของเด็กผู้เข้าแข่งขัน ผลการวิจัย พบว่า 1) เกมที่นำเสนอในรายการ "สู้เพื่อแม่" มีวีการเล่น 4 วิธี คือ การใช้การวิเคราะห์ พื้นฐานความรู้ทางวิชาการและความรู้ทั่วไปมากที่สุด รองลงมา คือ การใช้ทักษะทางร่างกาย, การคาดเดา การทาย/ไหวพริบ ปฏิภาณ, และการเสี่ยงโชค ตามลำดับ 2) ในส่วนของเนื้อหาเกม พบว่า เกมที่นำเสนอในรายการ "สู้เพื่อแม่" ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กผู้เข้าแข่งขัน ได้แก่ พัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทาง ด้านสติปัญญา พัฒนาการทางด้านอารมณ์และบุคลิกภาพ และพัฒนาการทางด้านสังคม 3) สำหรับความคิดเห็นของผู้ปกครองของเด็กที่สมัคร เข้าแข่งขัน พบว่า การเล่นเกมในรายการส่งผลกระทบทางบวกต่อพัฒนาการของเด็กและความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว ในการ ส่งเสริมความกล้าหาญแสดงออก การมีความกตัญญูกตเวที ทำให้สมาชิกในครอบครัวได้ แสดงความรักต่อกัน เกิดความรู้สึกสงสาร และเป็น ห่วงเด็กผู้เข้าแข่งขัน และทำให้เกิดความชื่นชมและความภาคภูมิใจในความสามารถของเด็กผู้เข้าแข่งขัน นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบทางลบ ต่อพัฒนาการของเด็กในการปลูกฝังค่านิยมการทำความดีแลกกับสิ่งของen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this qualitative research had three fold 1) to study how to play and the content of the game in the "SUE PUA MAE" program on television broadcast on channel 5;2) to analyze the content of the game in enhancing physical, intellectual, emotional and personality, and social development of children who participated in the game; and 3) to study the opinion of their parents towards the impact of the game on their children develo0ment and family relationship. To collect the data a content analysis, observation and interview were used. The findings were as the followings: 1) There were 4 methods used for playing the game. Firstly, an analysis based on the academic and general knowledge the children had. Secondly, the use of physical skill. Thirdly, The use of intellectual ability and fourthly, taking a chance, respectively. 2) The content of the game presented in the program enhanced the development of the children by 4 dimensions: physical, intellectual, emotional and personality, and social. 3)The parents of the contestants thought that the game positively impacted their children development in terms of confirming their self confidence in expressing their gratitude to their parents and family member relationship in love sharing and concerning. There was also some negative impact in term of taking a reward for their good performance.en
dc.format.extent1726386 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.609-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรายการโทรทัศน์en
dc.subjectพัฒนาการของเด็กen
dc.subjectเกมen
dc.titleการวิเคราะห์บทบาทของรายการ "สู้เพื่อแม่" ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและสถาบันครอบครัวen
dc.title.alternativeThe role analysis ''SUE PUA MAE'' program in promoting child development and family instituteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPatchanee.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.609-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patchara.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.