Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.authorวิภาวี วรวุฒิวิทยารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:26:40Z-
dc.date.available2019-09-14T02:26:40Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63015-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การสร้างสรรค์เชิงศิลปะ ความหมายในชีวิต และภาวะซึมเศร้าในนิสิตนักศึกษาศิลปะ กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตนักศึกษาศิลปะจำนวน 311 คน อายุเฉลี่ย 20.53±1.43 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป (2) มาตรวัดสมรรถนะการสร้างสรรค์ของเอปสไตน์ (3) มาตรวัดความหมายในชีวิต และ (4) มาตรวัดด้านย่อยภาวะซึมเศร้าของมาตรวัดความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้าฉบับ 42 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าการสร้างสรรค์เชิงศิลปะมีค่าสหสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.24, p < .01) เช่นเดียวกับความหมายในชีวิต มีค่าสหสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.70, p < .01) โดยที่การสร้างสรรค์เชิงศิลปะและความหมายในชีวิต สามารถร่วมกันทำนายภาวะซึมเศร้าในนิสิตนักศึกษาศิลปะได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 โดยร่วมกันทำนายความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้าร้อยละ 50 (R2 = .50, p < .01) เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐานของแต่ละตัวแปรทำนายพบว่าความหมายในชีวิตมีน้ำหนักค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐานสูงที่สุด (β = -.74, p < .01) ส่วนการสร้างสรรค์เชิงศิลปะ ไม่สามารถทำนายภาวะซึมเศร้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .09, ns)-
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to examine the relationships among artistic creativity, meaning in life, and depression of art undergraduates. Participants were 311 art undergraduates in Thailand with the mean age of 20.53+1.43 years old. Instruments were the Epstein Creativity Competencies Inventory for Individuals, Purpose in life test, and Depression Scale in Depression Anxiety Stress Scale. Pearson’s product moment correlation and multiple regression analyses were used to analyse the data. Finding revealed that meaning in life were significantly and negatively correlated with depression (r = -.70, p < .01). Also artistic creativity were significantly and negatively correlated with depression (r = -.24, p < .01). Artistic creativity and meaning in life significantly predicted depression and accounted for 50 percent of the total variance (R2 = .50, p < .01). Meaning in life significantly predicted of depression (β = -.74, p < .01) in art undergraduates. While artistic creativity was not significant predictor of depression (β = .09, ns).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.755-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการสร้างสรรค์-
dc.subjectการสร้างสรรค์ -- แง่จิตวิทยา-
dc.subjectการมีความคิดตามหลักจิตวิทยา-
dc.subjectนักศึกษาศิลปกรรม -- ทัศนคติ-
dc.subjectนักศึกษาศิลปกรรม -- แง่จิตวิทยา-
dc.subjectความซึมเศร้า-
dc.subjectCreative ability-
dc.subjectCreative ability -- Psychological aspects-
dc.subjectPsychological mindedness-
dc.subjectArt students -- Attitudes-
dc.subjectArt students -- Psychological aspects-
dc.subjectDepression, Mental-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสรรค์เชิงศิลปะ ความหมายในชีวิต และภาวะซึมเศร้าในนิสิตนักศึกษาศิลปะ-
dc.title.alternativeRelationships Among Artistic Creativity, Meaning In Life, And Depression Of Art Undergraduates-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorArunya.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.755-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5977628138.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.