Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. สิพิม วิวัฒนวัฒนา-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. วุฒิพงษ์ ศิริจันทรานนท์-
dc.contributor.authorแกมมณี ใหม่เจริญนุกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-11-21T08:06:46Z-
dc.date.available2019-11-21T08:06:46Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63977-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractด้วยสภาพปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยสารสนเทศไปอย่างมากจนเป็นผล ทำให้ทรัพย์สินบางประเภทเปลี่ยนสภาพไป หรือเกิดทรัพย์สินประเภทใหม่ขึ้นในปัจจุบัน จึงเกิดเทคโนลยีประเภทใหม่ อาทิ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence : AI) ซึ่งมีอัลกอริทึม ในการจดจำเรียนรู้ชุดคำสั่งและข้อมลที่ใช้ในอดีต แล้ววิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนา เพื่อให้ งานบรรลุผลสำเร็จดียิ่งขึ้นในครั้งต่อๆ ไปได้ด้วยตนเอง โดยไม่จำเป็นต้องรับชุดคำสั่งใหม่อีกครั้ง จากมนุษย์ ด้วยคุณสมบัตินี้ทำให้ปัญญาประดิษฐ์จะกลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับผู้ประกอบการ ภาคพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และเกษตรกรรมในอนาคตที่สำคัญ จากการศึกษากฎหมาย ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการคิดค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน พบว่า มีเพียงพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 ลงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2527 เท่านั้น ที่อธิบายถึงวิธีการคำนวณการหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน จึงทำให้การนำพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าวที่ประกาศบังคับใช้ เมื่อ 35 ปีก่อน มาปรับใช้ในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของปัญญาประดิษฐ์ที่ทรัพย์สิน ประเภทใหม่ที่เกิดขึ้นจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน อาจจะไม่ใช่ แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงเสนอให้มีการเพิ่มข้อกฎหมายใหม่ที่เฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับวิธีการคำนวณการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของปัญญาประดิษฐ์ โดยคำนึงถึง การใช้งานจริง เนื่องจากปัญญาประดิษฐ์มีคุณสมบัติในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จึงไม่เข้าข่ายลักษณะ ของคอมพิวเตอร์ หรือทรัพย์สินอื่นที่นิยามไว้ในกฎหมาย จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมล จากภาคต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาควิชาการและภาคเอกชน ผู้เขียนได้แยกพิจารณาการคิดค่าเสื่อมราคา ของปัญญาประดิษฐ์ตามกฎหมายปัจจุบัน ออกเป็น 4 กรณี ตามเงื่อนไขของประเภททรัพย์สินและ อายุการใช้ประโยชน์ ซึ่งพบว่า ตามเงื่อนไขของประเภททรัพย์สินและอายุการใช้ประโยชน์ ซึ่งพบว่า การกำหนดให้คำนวนค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินสั้นเกินกว่าอายุการใช้ประโยชน์จะทำให้ ผู้ประกอบการสามารถนำมาหักเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการได้เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ทางภาครัฐ หรือกรมสรรพากรจะมีความสามารถในการจัดเก็บภาษีได้น้อยลงอยางมีนัยสำคญ ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียน จึงเสนอให้บันทึกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรายจ่ายฝ่ายทุน (Capital expense) รวมถึงเก็บสถิติการใช้งาน และแยกนิยาม Hardware Software และ Software ที่มีอัลกอลิทึม ออกจากกัน เพื่อแยกกันคำนวนอายุการใช้ประโยชน์ของแต่ละส่วนออกจากกันอย่างชัดเจน โดยใช้ หลักเศรษฐศาสตร์เรื่องประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและหลักการทางบัญชีเรื่องอายุการใช้ประโยชน์ของ ทรัพย์สินเข้ามาช่วยในการคิด วิเคราะห์ เพื่อหาอายุของทรัพย์ที่เหมาะสมที่สุดen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2018.11-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดเก็บภาษีen_US
dc.subjectค่าเสื่อมราคาen_US
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของปัญญาประดิษฐ์en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorsipim.w@law.chula.ac.th-
dc.subject.keywordปัญญาประดิษฐ์en_US
dc.subject.keywordค่าสึกหรอen_US
dc.subject.keywordการเสียภาษีen_US
dc.subject.keywordนโยบายภาษีen_US
dc.subject.keywordการคำนวณภาษีen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2018.11-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6086159034.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.