Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorสุภัค คลองสนั่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-12-19T02:50:57Z-
dc.date.available2019-12-19T02:50:57Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64098-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractน้ำบาดาลเป็นทรัพยากรสำคัญที่ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองความต้องการการใช้น้ำในปัจจุบัน ซึ่งการพัฒนานำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้หากมีการสูบใช้น้ำบาดาลมากกว่าปริมาณการไหลเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำบาดาลจะทำให้ระดับน้ำบาดาลลดลงและปริมาณน้ำเสียสมดุลส่งผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมการศึกษาในครั้งนี้ ได้มีการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่จัดทำขึ้นด้วยโปรแกรม Visual MODFLOW ในการอธิบายการไหลของน้ำบาดาลในแอ่งน้ำบาดาลระยอง โดยใช้ข้อมูลบ่อสังเกตการณ์น้ำบาดาลจากการเก็บรวบรวมข้อมูลของกรมทรัพยากรนาบาดาลในช่วงเวลาเดือนสิงหาคมปี พ.ศ.2554 และเดือนมกราคม ปี พ.ศ.2555 แบบจำลองการไหลของน้ำบาดาลได้ถูกนำมาปรับเทียบและตรวจสอบกับค่าระดับน้ำบาดาลจากการตรวจวัดค่าจริงโดยค่า Normalized RMS ของทั้งสองช่วงเวลามีค่า 11.20% และ 11.19% ตามลำดับ และชั้นน้ำต่าง ๆ มีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านอยู่ในช่วง 0.0544 ถึง 0.446 เมตร/วัน จากการศึกษาพบว่าทิศทางการไหลหลักของน้ำบาดาลจะไหลจากพื้นที่เติมน้ำซึ่งกำหนดให้เป็นบริเวณแนวเขาตามขอบแอ่งลงสู่พื้นที่กลางแอ่งซึ่งเป็นตะกอนร่วน และไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทยตามทางนา ในการศึกษาสมดุลนาพบว่าทุกชั้นน้ำจะมีปฏิสัมพันธ์ของน้ำบาดาลที่เข้าและออกระหว่างกัน ชั้นน้ำที่มีอัตราการไหลออกของน้ำบาดาลมากที่สุดคือชั้นน้ำที่ 1 เพราะทำหน้าที่ระบายน้ำลงสู่ทะเลอ่าวไทย แต่ชั้นน้ำที่มีอัตราการสูบน้ำมากที่สุดคือชั้นน้ำที่ 3 โดยมีอัตราการสูบน้ำ 12,663 ลบ.ม./วันen_US
dc.description.abstractalternativeGroundwater is a crucial water resource to human’s water demand in various sectors such as residential consumption, irrigation, and industrial areas. However, the overuse of groundwater can affect to water balance in groundwater system. In this study, a mathematical groundwater model, called Visual MODFLOW software, was used to explain groundwater flow direction and groundwater balance in Rayong groundwater basin. The observed groundwater data was derived from the Department of Groundwater Resources (DGR) observed in August 2011 (Rainy season) and January 2012 (Summer season). The groundwater flow modeling was calibrated and then verified with measured groundwater levels in both rainy and summer seasons with the normalized RMS of 11.20% and 11.19%, respectively. The hydraulic conductivity (K) were in the range from 0.0544 to 0.446 m/day. The model revealed that groundwater flows from the recharge zone in the mountainous area to discharge area mainly located in the central floodplain of groundwater basin, and then groundwater flows to the gulf of Thailand. According to the study of water balance, all the layers of aquifer were interacted by water inflows and outflows between each other. The largest outflow found in the first layer which flow into the Gulf of Thailand. Moreover, the third layer was the largest water consumption with the rate of 12,663 m³/day.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำบาดาลen_US
dc.subjectอุทกธรณีวิทยาen_US
dc.subjectGroundwateren_US
dc.subjectHydrogeologyen_US
dc.titleแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาลในแอ่งน้ำบาดาลระยองen_US
dc.title.alternativeGroundwater flow modeling in Rayong groundwater basinen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSrilert.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Supak Klongsanan.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.