Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSukonmeth Jitmahantakul-
dc.contributor.authorThanakit Tangkamcharoen-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2019-12-19T04:21:54Z-
dc.date.available2019-12-19T04:21:54Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64104-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractThree-dimensional (3D) geometries and internal structures of rift basins were controlled by extension direction and pre-existing structure beneath the rift basin. The study about 3D fault surfaces in the rift basins will help to understand the evolution occurring into the rift basins and the pre-existing structure controlling the geometry of rift basins. This study constructed the 3D digital models from a series of cross-section images of the scaled physical models (orthogonal rift model and oblique rift model) of the rift basins and compared the internal structure of both models. A new technique for 3D fault model construction was developed from using the combination of image-seismic conversion software (Kogeo®), seismic interpretation software (OpendTect®, Petrel 2014) and structural analysis software (MoveTM). The orthogonal and oblique rift model are characterized by segmented rift-border faults having orientation to be parallel to the pre-existing structure beneath the rift basin, whereas intra-rift faults having the orientation to be sub-perpendicular to perpendicular to the extension direction. Dip angles of both fault sets decrease with depth. Fault displacements in the oblique rift model are generally higher than that in the orthogonal rift model. Maximum displacement is found in the intra-rift faults forming the basin depocenter in both models. Fault linkages can be easily observed in the oblique rift model than the orthogonal rift model. The results were compared with the fault systems in the examples of natural rift basins and can be used to apply to petroleum system about fault trap and migration pathways of hydrocarbon.en_US
dc.description.abstractalternativeรูปทรงเรขาคณิตสามมิติและโครงสร้างภายในของแอ่งทรุดตัวถูกควบคุมโดยทิศทางของแรงยืดและโครงสร้างเก่าที่วางตัวข้างใต้แอ่งทรุดตัว ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับพื้นผิวรอยเลื่อนสามมิติภายในแอ่งทรุดตัวจะช่วยให้เข้าใจวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นภายในแอ่งทรุดตัวและโครงสร้างเก่าที่เป็นตัวควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของแอ่งทรุดตัว โดยการศึกษานี้ได้ทาการสรางแบบจำลองดิจิทัลสามมิติจากชุดภาพตัดขวางของแบบจำลองทางกายภาพย่อส่วน (แบบจำลองทรุดตัวแบบตั้งฉากและแบบจำลองทรุดตัวแบบเฉียง) ของแอ่งทรุดตัว และได้ทำการเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของทั้งสองแบบจำลอง ซึ่งเทคนิคใหม่สำหรับการสร้างแบบจำลองรอยเลื่อนสามมิตินี้ได้ถูกพัฒนาจากการใช้การผสมผสานของซอฟต์แวร์เปลี่ยนภาพถ่ายเป็นข้อมูลไหวสะเทือน (Kogeo®) ซอฟต์แวร์แปลความข้อมูลไหวสะเทือน (OpendTect® และ Petrel 2014) และซอฟต์แวร์วิเคราะห์โครงสร้าง (MoveTM) แบบจำลองทรุดตัวแบบตั้งฉากและแบบเฉียงถูกแสดงลักษณะโดยรอยเลื่อยย่อยบริเวณขอบแอ่งทรุดตัวที่มีการวางตัวขนานกับโครงสร้างเก่าข้างใต้แอ่งทรุดตัว ในขณะที่รอยเลื่อนภายในแอ่งทรุดตัวนั้นมีการวางตัวที่เกือบตั้งฉากถึงตั้งฉากกับทิศทางของแรงยืด มุมเทของรอยเลื่อนทั้งสองแบบมีการลดลงตามระดับความลึก การเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแบบจำลองทรุดตัวแบบเฉียงมักมีการเลื่อนตัวที่มากกว่าแบบจำลองทรุดตัวแบบตั้งฉาก ซึ่งการเลื่อนตัวสูงสุดที่ถูกพบในรอยเลื่อนภายในแอ่งทรุดตัวนั้นทำให้เกิดศูนย์สะสมของแอ่งในทั้งสองแบบจำลอง การเชื่อมตัวของรอยเลื่อยนั้นสามารถถูกพบในแบบจำลองทรุดตัวแบบเฉียงได้ง่ายกว่าแบบจำลองทรุดตัวแบบตั้งฉาก โดยผลลัพธ์ทั้งหมดนี้จะถูกนำไปเปรียบเทียบกับระบบรอยเลื่อนในตัวอย่างของแอ่งทรุดตัวธรรมชาติ และสามารถถูกนำไปประยุกต์ใช้กับระบบปิโตรเลียมเกี่ยวกับลักษณะการกักเก็บแบบรอยเลื่อน และเส้นทางการเคลื่อนที่ของไฮโดรคาร์บอนได้ อีกด้วยen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectThree-dimensional imaging in geologyen_US
dc.subjectBasins (Geology)en_US
dc.subjectการสร้างภาพสามมิติทางธรณีวิทยาen_US
dc.subjectแอ่ง (ธรณีวิทยา)en_US
dc.title3D internal structure of rift basins from scaled physical modelsen_US
dc.title.alternativeโครงสร้างภายในสามมิติของแอ่งทรุดตัว จากแบบจำลองทางกายภาพย่อส่วนen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSukonmeth.Ji@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Thanakit Tangkamcharoen.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.